Page 230 - รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะนโยบายหรือมาตรการเพื่อคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิของผู้สูงอายุ: กรณีการเลือกปฏิบัติในผู้สูงอายุ
P. 230
172 | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
ได้รับเงินเบี้ยเลี้ยงเพื่อการด ารงชีพส าหรับผู้สูงอายุ ส าหรับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับเงินช่วยเหลือชนิดนี้
จะมีลักษณะใกล้เคียงกับกรณีของเงินเบี้ยเลี้ยงเพื่อการด ารงชีพส าหรับผู้สูงอายุ
(4) เงินช่วยเหลือด้านที่พักอาศัย (Frais d’hébergement)
เงินช่วยเหลือด้านที่พักอาศัย (Frais d’hébergement) นี้จ่ายให้แก่สูงอายุที่มีรายได้ไม่
212
เพียงพอต่อการจ่ายค่าเช่าที่พักรายเดือน (loyers) เช่น มีรายได้ต่ ากว่าค่าเช่าที่พักรายเดือน สามารถยื่นค าขอ
เพื่อขอรับเงินช่วยเหลือด้านที่พักอาศัยส าหรับการจ่าย ค่าเช่าที่พักรายเดือนทั้งหมดหรือบางส่วนภายใต้
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ก าหนด
โดยหลักเกณฑ์และเงื่อนไขส าหรับผู้สูงอายุที่จะได้รับเงินช่วยเหลือด้านที่พักอาศัยมีดังนี้
1. มีอายุ 65 ปีขึ้นไปหรือ 60 ปี ส าหรับผู้ที่เสื่อมสมรรถภาพในการประกอบอาชีพ
2. พ านักอยู่ในประเทศฝรั่งเศสในลักษณะประจ าและถาวร ส าหรับกรณีของชาวต่างชาติจะต้อง
พ านักอยู่ในฝรั่งเศสโดยชอบด้วยกฎหมาย
(5) เงินช่วยเหลืออื่น
นอกจากเงินช่วยเหลือข้างต้นแล้ว ผู้สูงอายุยังอาจขอเงินช่วยเหลือในกรณีอื่น ๆ ได้อีก ได้แก่ เงิน
ช่วยเหลือส าหรับการปรับปรุงหรือดัดแปลงที่พักอาศัย (Aides à l’amélioration de l’habitat) เพื่อให้มี
ลักษณะที่เหมาะสมกับการด ารงชีวิตประจ าวันของผู้สูงอายุ เงินช่วยเหลือในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น กรณี
ถูกขโมย กรณีประสบอุบัติภัย เป็นต้น ทั้งนี้ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขจะเป็นไปตามที่องค์กรหรือหน่วยงานที่
ให้ความช่วยเหลือก าหนด
3.5.3 ผู้สูงอายุกับการคุ้มครองสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
3.5.3.1 สถานการณ์
จากข้อมูลการส ารวจขององค์การอนามัยโลกพบว่ามีการละเมิดที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่ การละเมิด
ทางการเงิน (การขโมย ยักยอก การลิดรอนสิทธิทางการเงินในรูปแบบต่าง ๆ ) ใน 1 ถึง 9.2% ของการละเมิด
การกระท าต่อจิตใจ (การดูหมิ่น การต่อว่า การลบหลู่) จ านวน 0.7 ถึง 6.3% การละเลยต่อผู้สูงอายุ 0.2 ถึง
5.5% การท าร้ายร่างกาย 0.2 ถึง 4.9% และการล่วงละเมิดทางเพศ 0.04 ถึง 0.82%
ส าหรับประเทศฝรั่งเศสการส ารวจโดยสมาพันธ์ 3977 เพื่อป้องกันการถูกละเมิด (Fédération
3977 de lutte contre la maltraitance) ได้ส ารวจการกระท าละเมิดต่อผู้สูงอายุในรายงานประจ าปี 2014
พบว่า จากการแจ้งทางโทรศัพท์สายด่วนหมายเลข 3977 จ านวน 24,432 ครั้ง โดยการแจ้งร้อยละ 73 เป็น
การพบการละเมิดต่อผู้สูงอายุในบ้าน โดยมีสถิตการรับแจ้งดังแผนภาพด้านล่างนี้
212 Articles L123-4 à L123-9, Articles L132-1 à L132-12 et Articles L143-1 à L134-10 du Code de
l’action sociale et des familles