Page 90 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 90

73



                                    4
                                                               5
                       การเลี้ยงผีขุนน้้า  และการซ่อมฝาย รองเหมืองฝาย  ขณะเดียวกัน ผลการด้าเนินงานของคนในชุมชนแม่
                       ทาเองที่มีความโดดเด่นในหลายมิติ เช่น ด้านการจัดการทรัพยากรดิน น้้า ป่าไม้ ด้านการเกษตร และ
                       ด้านวัฒนธรรม/ประเพณี เป็นต้น ส่งผลให้ ปัจจุบันชุมชนแม่ทาได้เปิดรับนักท่องเที่ยวหรือผู้สนใจ

                       สามารถเข้ามาศึกษาดูงานผ่านจุดเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความต้องการ ส้าหรับการจัดการทรัพยากรน้้านั้น
                       สามารถเรียนรู้ในหัวข้อ “การจัดการทรัพยากร โดยชุมชน” ผ่านจุดเรียนรู้ ป่าแม่บอน ป่าห้วยน้้าขุ่น

                       และป่าห้วยขุมค้า โดยรายละเอียดของจุดเรียนรู้ดังกล่าว ประกอบด้วย การจัดการต่อสู้แย่งชิงทรัพยากร

                       การจัดการศึกษาเรียนรู้ป่าดั้งเดิม ป่าขุนน้้า ที่มีความอุดมสมบูรณ์ในแม่ทาเรียนรู้ป่าพิธีกรรมที่มีการ
                       บวชป่า เลี้ยงผีขุนน้้า การบริหารจัดการน้้า การแบ่งจัดพื้นที่ป่าชุมชน ป่าใช้สอย ป่าอนุรักษ์ และได้

                       ก้าหนด “ผู้รู้” ซึ่งเป็นผู้ให้ความรู้เกี่ยวกับการด้าเนินกิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ นายอนันต์ ดวงแก้วเรือน

                       นายอินทร ปูเฟย นายสวัสดิ์ สุขจันทร์ และนายอุทัย ปวงอูป (องค์การบริหารส่วนต้าบลแม่ทา, 2563)
                              ผลที่ได้จากการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดี การจัดการป่าที่ผ่านมาของชุมชนต้าบลแม่ทาท้า

                       ให้น้้าซึ่งเป็นปัจจัยส้าคัญในการท้าการเกษตรกลับมาอุดมสมบูรณ์ มีน้้าเพื่อการเกษตรเพียงพอ และมี

                       น้้าใช้จากระบบประปาภูเขาที่หล่อเลี้ยงชุมชนทุกหมู่บ้าน การท้าการเกษตรของชุมชนที่ได้มีการ
                       พัฒนาและปรับเปลี่ยนสู่วิถีเกษตรอินทรีย์นั้นนับเป็นการท้าการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ

                       ช่วยสร้างความยั่งยืนให้กับการจัดการทรัพยากรของชุมชน อีกทั้งการจัดการทรัพยากรที่ขยายงานจาก

                       การจัดการป่าสู่การจัดการที่ดินได้ช่วยรับรองสิทธิของชุมชนในที่ท้ากินสร้างความมั่นคงในวิถีชีวิต
                       ท้าให้คนในชุมชนให้ความร่วมมือและปฏิบัติตามกฎระเบียบร่วมกันส่งผลให้องค์กรชุมชนมีความ

                       เข้มแข็ง กล่าวคือ

                              1) ผลเด่นชัดประการแรก คือ การฟื้นฟูของทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรน้้าที่เสื่อมโทรมลง
                       ในช่วงสัมปทานหรือการเกษตรที่มุ่งเน้นการปลูกพืชเชิงเดี่ยว จนปัจจุบันชุมชนสามารถเก็บหาและใช้

                       ประโยชน์ทรัพยากรจากป่าได้อย่างต่อเนื่องทั้งเพื่อบริโภคและเป็นรายได้



                       4  การเลี้ยงผีขุนน้้า มีขึ้นในช่วงเดือน 9 ออก 9 ค่้า และแรม 9 ค่้า ของทุกปี โดยจะด้าเนินการ ณ ขุนน้้า ห้วยต่าง ๆ ใน
                       แต่ละหมู่บ้านของต้าบลแม่ทาซึ่งเป็นการบูชาดวงวิญญาณที่ดูแลปกป้อง รักษาป่า สร้างความเชื่อให้คนในชุมชนใน

                       การรักษาป่าร่วมกัน ขอพรให้การปลูกข้าว และการท้าเกษตร ได้ผลผลิตดีมีน้้าใช้ ด้วยการน้าเครื่องไหว้ไปถวาย
                       พระสงฆ์ โดยประชาชนจะร่วมพิธีกรรมทางศาสนา รับประทานอาหารร่วมกันและช่วยกันท้าความสะอาดพื้นที่
                       สาธารณประโยชน์ (องค์การบริหารส่วนต้าบลแม่ทา, 2563)
                       5  การซ่อมฝาย รองเหมืองฝาย ท้าในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี จะด้าเนินการบริเวณล้าเหมือง ล้าห้วยแต่ละแห่ง

                       ตามหมู่บ้าน โดยก่อนด้าเนินการจะพิจารณาเพื่อก้าหนดหาวันที่เป็นมงคลด้วยความเชื่อว่าวันเสาร์เป็นวันที่เป็นมงคล
                       ท้าให้ฝายมีความแข็งแรงไม่เสียหาย ก่อนเริ่มการซ่อมฝาย รองเหมืองฝายต้องท้าพิธีเลี้ยงผีฝาย มีแก่เหมือง แก่ฝาย

                       เป็นผู้ประกอบพิธีด้วยการถวายเครื่องบูชา ประกอบด้วย กรวยดอกไม้ ธูป-เทียน เหล้าพื้นบ้าน ไก่หรือหมู หรือตาม
                       ข้อตกลงร่วมกันของฝายแต่ละพื้นที่ตั้ง (องค์การบริหารส่วนต้าบลแม่ทา, 2563)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95