Page 71 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 71
ตารางที่ 4.4 ทิศทางการพัฒนาภูมิภาคตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า (ต่อ)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน า
(4) พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจชายแดนให้เป็นประตูเศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน (3) บริหารจัดการน้้าเพื่อสนับสนุนภาคเกษตรและภาคเศรษฐกิจ พร้อมทั้งการวางแผนจัดสรรน้้า
(5) เร่งแก้ปัญหาจัดระบบการบริหารจัดการมลพิษ รายภาคการผลิตและรายฤดู
(4) การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้้า ปรับโครงสร้างการใช้น้้า เพิ่มผลิตภาพการใช้น้้า
ภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตร
(5) ส่งเสริมและสนับสนุนการลดและการน้ากลับมาใช้ใหม่ในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตร
5) ภาคใต้
(1) พัฒนาการท่องเที่ยวของภาคให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นน้าของโลก (1) พัฒนาแหล่งน้้าเพื่อเมืองท่องเที่ยวส้าคัญ และพื้นที่เกาะ
(2) พัฒนาอุตสาหกรรมการแปรรูปยางพารา และปาล์มน้้ามันแห่งใหม่ของประเทศ (2) พัฒนาแหล่งน้้าเฉพาะพื้นที่ เพื่อสนับสนุนภาคการเกษตร อุตสาหกรรมแปรรูป และพื้นที่
(3) พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาค เขตเศรษฐกิจพิเศษ
(4) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สนับสนุนการท่องเที่ยว พัฒนาเขตอุตสาหกรรม และ (3) บรรเทาอุทกภัยในพื้นที่เศรษฐกิจส้าคัญ และที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
เชื่อมโยงการค้าในอาเซียน สังคม ได้แก่ เมืองหลักเมืองท่องเที่ยวส้าคัญ และพื้นที่น้้าท่วมเสียหายรุนแรง
(4) จัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เกษตรเพื่อลดผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้ง
6) ภาคใต้ชายแดน
(1) พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร และอุตสาหกรรมแปรรูป การเกษตร สร้างความมั่นคง (1) พัฒนาแหล่งน้้า เพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปเกษตรกรรม
ภาคการผลิต (2) พัฒนาระบบประปา เพื่อพัฒนาแหล่งการค้า และท่องเที่ยวชายแดน
(2) พัฒนาเมือง สุไหงโก-ลก และเมืองเบตง ให้เป็นเมืองการค้า และเมืองท่องเที่ยวชายแดน (เมืองสุไหงโก-ลก เมืองเบตง เมืองปัตตานี และเมืองนราธิวาส)
(3) เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน (3) ป้องกันน้้าท่วมชุมชนเมือง เมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยว และพื้นที่เศรษฐกิจส้าคัญ
55
ที่มา: ส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติ (2562)