Page 46 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 46
34
และลุ่มน้้าสาขา และโครงการพัฒนาระบบคลังข้อมูล 25 ลุ่มน้้า และแบบจ้าลองน้้าท่วมและน้้าแล้ง
รวมถึงการบูรการร่วมกับการแบ่งกลุ่มลุ่มน้้าตามต้าแหน่งจุดไหลออกของล้าน้้า และกลุ่มลุ่มน้้าตาม
ข้อเสนอของกรมชลประทาน ทั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ด้าเนินการคัดเลือกพื้นที่เพื่อเป็นกรณีศึกษาวิจัยแนว
ปฏิบัติที่ดี (Good Practice) จ้านวน 2 ลุ่มน้้า ดังนี้
1. ลุ่มน าน่าน ในเขตอ้าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ซึ่งมีพื้นที่ลุ่มน้้ารวมทั้งสิ้น 34,682.04
ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 11 จังหวัด ได้แก่ ก้าแพงเพชร พะเยา แพร่ น่าน เลย สุโขทัย
อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ และนครสวรรค์
2. ลุ่มน าชี ในเขตอ้าเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งมีพื้นที่ลุ่มน้้ารวมทั้งสิ้น 49,131.92
ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 16 จังหวัด ได้แก่ ชัยภูมิ ขอนแก่น เพชรบูรณ์ นครราชสีมา กาฬสินธุ์
มหาสารคาม มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ลพบุรี เลย ศรีสะเกษ สกลนคร อุดรธานี หนองบัวล้าภู และ
อุบลราชธานี
ส าหรับเกณฑ์การเลือกพื นที่ คณะผู้วิจัยได้คัดเลือกพื้นที่ 2 ลุ่มน้้า ในภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยอาศัยเกณฑ์ประกอบการพิจารณาดังต่อไปนี้
1. พิจารณาคัดเลือกจากสภาพพื้นที่ที่มีประชาชนได้รับผลกระทบจากปัญหาการบริหาร
จัดการน้้ามากที่สุด โดยภาคเหนือกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยหนาแน่น
และประชากรกว่าร้อยละ 70 ประกอบอาชีพด้านการเกษตรเป็นหลัก เมื่อเกิดปัญหาน้้าท่วมหรือภัย
แล้ง ประชากรทั้งสองพื้นที่จะได้รับผลกระทบจ้านวนมากเมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนกับประชากรในพื้นที่
ภาคอื่น ๆ ประกอบกับจ้านวนสถิติการประสบภาวะภัยพิบัติในอัตราสูงและถี่มากซึ่งส่งผลกระทบต่อ
การประกอบอาชีพทางการเกษตร ทั้งนี้ การท้าการเกษตรของประชากรทั้งสองภาคเป็นการท้านาปลูก
ข้าวเป็นส่วนใหญ่ที่ต้องพึ่งพาน้้าจากแหล่งน้้าธรรมชาติ และอาศัยปริมาณน้้าฝนในการท้าการเกษตร
เมื่อปริมาณน้้าขาดแคลนหรือเกิดการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าล้มเหลวย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ประชากรเป็นจ้านวนมากกว่าพื้นที่ภาคอื่น ๆ
2. พิจารณาจากขนาดของพื้นที่และความยาวของลุ่มน้้าที่ประชากรจะได้รับผลกระทบ เมื่อ
อาศัยเกณฑ์การพิจารณาดังกล่าวแล้วพื้นที่ลุ่มน้้าทั้งสองแห่งหล่อเลี้ยงประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จ้านวน
27 จังหวัด คิดเป็นพื้นที่มากกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณพื้นที่ทั้งประเทศ จะเกิดขึ้นต่อประชากรที่อาศัย
ลุ่มน้้านั้น ๆ โดย
ลุ่มน าน่าน เป็นล้าน้้าสายหลักทางภาคเหนือ มีความยาวมากที่สุดในบรรดาแม่น้้าที่เป็นต้น
น้้าลุ่มเจ้าพระยา ยาวประมาณ 750 กิโลเมตร พื้นที่ลุ่มน้้ารวมทั้งสิ้น 34,682.04 ตารางกิโลเมตร
ครอบคลุมพื้นที่ 11 จังหวัด นับเป็นแม่น้้าสายส้าคัญต่อการท้าการเกษตรทั้งประชากรในภาคเหนือ
และประชากรที่อาศัยอยู่พื้นที่ภาคกลาง เมื่อเกิดน้้าท่วมหรือภัยแล้งย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อการ
อยู่อาศัยและการประกอบอาชีพของประชากรจ้านวนมาก