Page 44 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 44
32
ตามแนวทางที่มีการส่งเสริมทางนโยบายและกฏหมายจะช่วยยืนยันการขับเคลื่อนจากแนวคิดสู่การ
ปฏิบัติว่ามีสภาพเป็นเช่นไร ยังมีปัญหาหรือช่องว่างของการปฏิบัติในพื้นที่อย่างไร ขณะที่งานศึกษา
หลายชิ้นได้ยืนยันว่าชุมชนมีศักยภาพเพียงพอที่จะมีส่วนร่วมบริหารจัดการน้้าได้ และหากเปิดโอกาส
ให้ชุมชนได้เข้ามาร่วมจัดการในพื้นที่ของเขาก็จะช่วยบรรเทาหรือลดความขัดแย้งได้ โดยเฉพาะความ
ขัดแย้งระหว่างรัฐกับชุมชน เหล่านี้จึงเป็นแนวทางจัดการที่รับรู้กันว่า “สันติวิธี” ซึ่งกรอบความคิด
และแนวทางการศึกษาดังแสดงแผนภูมิที่ 2.2
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนแม่บทการบริหารจัดการ สิทธิมนุษยชน
พุทธศักราช 2560 (มาตรา 43) ทรัพยากรน้้า 20 ปี องค์การสหประชาชาติ
สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้้า (พื้นที่ต้นน้้า)
คู่พิพาท ความขัดแย้งใน แนวคิดสันติวิธี
ทรัพยากรน้้า
- ภายในชุมชน
- ระหว่างชุมชน
- ภาคเอกชน ชุมชนและคู่พิพาทยอมรับ
- ภาครัฐ ผลการแก้ไขความขัดแย้ง
- ฯลฯ
ปัญหาความขัดแย้ง
ได้รับการแก้ไข
ชุมชนมีตัวตน ชุมชนมีบทบาท
ขับเคลื่อนประเทศ
แผนภูมิที่ 2.2 กรอบความคิดและแนวทางการศึกษาวิจัย