Page 51 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 51

39



                       3.4 การพัฒนาเครื่องมือวิจัย
                              คณะผู้วิจัยได้พัฒนาแบบสอบถาม (ใช้วิธีการสัมภาษณ์ในกรณีประชาชนไม่ถนัดอ่านด้วยตัวเอง)

                       เพื่อใช้ส้าหรับการวิจัยครั้งนี้  โดยมีขั้นตอนด้าเนินการดังนี้

                              1. ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อก้าหนดกรอบของข้อค้าถาม ประกอบด้วย เอกสารด้านการ
                       บริหารจัดการทรัพยากรน้้า เอกสารด้านการแก้ปัญหาตามแนวทางสันติวิธี เอกสารด้านสิทธิชุมชน

                       เกี่ยวกับทรัพยากรน้้า และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวค้าถามจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องซึ่งมี

                       วัตถุประสงค์คล้ายคลึงกัน จากนั้นน้ามาพัฒนาเป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งเป็น 6 ส่วน คือ (1) ข้อมูล
                       ทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม (2) ข้อมูลค้าถามเกี่ยวกับความรู้ด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิการใช้น้้า

                       (3) ข้อมูลค้าถามเกี่ยวกับสิทธิและการใช้น้้าในชีวิตประจ้าวัน (4) การบริหารจัดการแหล่งน้้าสาธารณะ/

                       ธรรมชาติ (5) ความขัดแย้งด้านทรัพยากรน้้าและการแก้ปัญหาแนวสันติวิธี และ (6) ข้อเสนอแนะ
                       ทั่วไป ซึ่งเป็นแนวค้าถามปลายเปิดเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ

                              2. น้าแบบสอบถามฉบับที่ร่างขึ้นจัดส่งให้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของงานวิจัย

                       ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) ของแบบสอบถาม ประกอบด้วย (1) ดร.จุฑาทิพย์
                       มณีพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมและธรรมาภิบาล อดีตที่ปรึกษาองค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่าง

                       ประเทศของสหรัฐฯ (United States Agency for International Development-USAID) (2) ดร.อภิญญา

                       ดิสสะมาน ผู้เชี่ยวชาญด้านสิทธิชุมชนและสันติวิธี สถาบันพระปกเกล้า และ (3) นายวีระวุธ พรรัตน์พันธ์
                       ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านอุทกวิทยา กรมทรัพยากรน้้า

                              3. น้าผลการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและข้อเสนอการปรับปรุงข้อค้าถามในแบบสอบถาม

                       จากผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง 3 ท่าน มาแก้ไขและปรับแก้ เพื่อเตรียมน้าแบบสอบถามไปทดสอบความน่าเชื่อถือ
                       (reliability) ในขั้นตอนต่อไป

                              4. น้าแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปด้าเนินการทดลองใช้ในพื้นที่ (try out) โดยเลือก

                       กลุ่มตัวอย่างที่มีสภาพแวดล้อมคล้ายคลึงกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการจะเก็บข้อมูลจริง ซึ่งคณะผู้วิจัย
                       ได้เลือกพื้นที่ต้าบลดงหมู อ้าเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพื้นที่ในการทดสอบแบบสอบถาม

                       เนื่องจากเป็นพื้นที่ต้นน้้าของลุ่มน้้ายัง ซึ่งเป็นต้นน้้าสายส้าคัญในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                       โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจ้านวน 30 ชุด
                              5. น้าแบบสอบถามที่เก็บจากพื้นที่ทดลองจ้านวน 30 ชุด มาด้าเนินการทดสอบหาค่าความ

                       น่าเชื่อถือ (reliability) ของเครื่องมือวิจัย โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบัค (Cronbach's alpha

                       coefficient) ผลการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถามพบว่า แบบสอบถามส่วนที่ 2 มีค่าความเชื่อมั่น
                       ในระดับพอใช้ (0.619) แบบสอบถามส่วนที่ 3 มีค่าความเชื่อมั่นในระดับดี (0.970) และแบบสอบถาม

                       ส่วนที่ 4 มีค่าความเชื่อมั่นในระดับดี (0.926) โดยคณะผู้วิจัยได้มีการปรับปรุงข้อค้าถามส่วนที่ 2 ในข้อ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56