Page 38 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 38
26
ล าดับ จังหวัด เนื อที่ต้นน า (ไร่) มีเนื อที่ต้นน าในจังหวัด (ร้อยละ)
4 นครราชสีมา 1,363,518 10.51
5 ขอนแก่น 426,727 6.42
6 หนองบัวล้าภู 160,796 6.32
7 กาฬสินธุ์ 252,819 5.84
8 สกลนคร 321,066 5.36
9 อุดรธานี 354,478 5.11
10 หนองคาย 100,768 4.91
11 ศรีสะเกษ 206,742 3.70
12 นครพนม 86,727 2.47
13 อุบลราชธานี 203,894 2.09
14 บึงกาฬ 30,633 1.22
15 อ้านาจเจริญ 23,956 1.16
16 บุรีรัมย์ 66,062 1.05
17 ยโสธร 23,281 0.90
18 ร้อยเอ็ด 32,412 0.66
19 สุรินทร์ 21,284 0.38
20 มหาสารคาม 208 0.01
รวมเนื อที่ต้นน าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 9,817,491 -
ที่มา: ดัดแปลงจาก ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2562)
ถึงแม้ว่าพื้นที่ต้นน้้าจะเป็นแหล่งของทรัพยากรน้้าที่ส้าคัญของประเทศไทย แต่ที่ผ่านมากลับ
พบปัญหาพื้นที่ป่า (พื้นที่ต้นน้้า) ถูกท้าลายอันส่งผลให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้ง
ขณะเดียวกันเมื่อเกิดน้้าหลากย่อมขาดพรรณพืชหรือชั้นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์คอยดูดซับหรือชะลอ
น้้าไหลบ่า เหล่านี้จึงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาน้้าท่วมฉับพลันตามมา (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้้าและ
การเกษตร (องค์การมหาชน), 2557) ดังนั้น การจัดการทรัพยากรน้้าในเขตพื้นที่ป่าต้นน้้าด้วยการ
อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้้าที่เสื่อมโทรม การปลูกป่า และป้องกันการพังทลายของดินจึงเป็นอีกหนึ่ง
รูปแบบในการจัดการปัญหาทรัพยากรน้้าของประเทศไทยด้วยเช่นกัน (สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้้า
และการเกษตร (องค์การมหาชน), 2557; ส้านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2555; ส้านักงาน
ทรัพยากรน้้าแห่งชาติ, 2562)