Page 35 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 35

23



                       อย่างมีปฏิสัมพันธ์สอดคล้องและต่อเนื่อง โดยหน้าที่ของการบริหารจัดการประกอบด้วยกิจกรรม
                       พื้นฐาน 4 ประการ คือ การวางแผน (planning) การจัดการองค์กร (organizing) การน้าหรือการสั่ง

                       การ (leading/directing) และการควบคุม (controlling) (ชลธร  ทิพย์สุวรรณ, 2557) ทั้งนี้ Hileman

                       J. et al. (2019) ได้กล่าวถึงความส้าคัญของการจัดการต่อทรัพยากรน้้าว่า ปัญหาการขาดแคลนน้้า
                       ไม่ใช่เหตุผลหลักที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในทรัพยากรน้้าของอเมริกากลางแต่ความขัดแย้งดังกล่าวมี

                       สาเหตุจากการจัดการทรัพยากรน้้าที่ขาดประสิทธิภาพนั่นเอง ขณะที่ ปราโมทย์ ไม้กลัด (2557) ได้

                       อธิบายความหมายของค้าว่า “การจัดการน้้า” ว่าเป็นกระบวนการ (กรรมวิธี) จัดการน้้าซึ่งโดยทั่วไป
                       เกี่ยวข้องกับการจัดหาและพัฒนา การจัดสรรและใช้เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ตลอดถึงการอนุรักษ์และ

                       ฟื้นฟูแหล่งน้้าให้คงอยู่และมีใช้อย่างยืนยาว รวมทั้งการแก้ไขปัญหาอันเกิดจากทรัพยากรน้้าทั้งด้าน

                       ปริมาณและคุณภาพให้หมดไป ดังนั้น เพื่อก้าหนดทิศทางการจัดการทรัพยากรน้้าดังกล่าว แผนแม่บท
                       การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า 20 ปี จึงได้ถูกน้ามาใช้ ขณะเดียวกัน แผนแม่บทฯ น้้า ได้ให้ความส้าคัญ

                       ต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้้าที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน (ด้านที่ 5) อันแสดงให้

                       เห็นว่าเขตพื้นที่ต้นน้้านั้นมีความส้าคัญต่อการจัดการทรัพยากรน้้าของไทย
                            ส้าหรับความส้าคัญของพื้นที่ต้นน้้ากับการจัดการทรัพยากรน้้านั้น ส่วนวิจัยต้นน้้า (2556) ได้

                       อธิบายว่า “ต้นน้้า” หมายถึง ส่วนหนึ่งของพื้นที่ลุ่มน้้าที่อยู่บนพื้นที่สูง เช่น ภูเขา ส่วนค้าว่า “ลุ่มน้้า”

                       หมายถึง พื้นที่ที่อยู่เหนือจุด ๆ หนึ่งบนล้าธารโดยท้าหน้าที่รองรับน้้าฝนและล้าเลียงน้้าฝนในส่วนที่
                       เหลือจากการน้าไปใช้ของต้นไม้ การเก็บกักเอาไว้ในดิน และการรั่วซึมผ่านชั้นที่หินอยู่ใต้ชั้นดินออก

                       นอกพื้นที่ลุ่มน้้าไป โดยล้าเลียงน้้าในส่วนที่เกินนี้ลงสู่ล้าธารทั้งทางผิวดินและใต้ผิวดิน (ภาพที่ 2.4)

                       ดังนั้น “พื้นที่ต้นน้้า” จึงหมายถึง พื้นที่ที่เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่ลุ่มน้้าที่อยู่บนพื้นที่สูง โดยส่วนใหญ่
                       เป็นภูเขาหรือเรียกโดยทั่วไปว่า ป่าต้นน้้า ทั้งนี้ ป่าต้นน้้านั้นมีความส้าคัญต่อทรัพยากรน้้า เนื่องจาก

                       ป่าต้นน้้าเป็นแหล่งของ “น้้า” ที่เกิดขึ้นจากการตกสะสมของฝนบนพื้นที่ต้นน้้าโดยมีป่าไม้หรือพืชคลุม

                       ดินประเภทต่าง ๆ ท้าหน้าที่แบ่งน้้าฝนที่ตกลงมาในแต่ละครั้งออกเป็นน้้าผิวดินและน้้าใต้ดิน จากนั้น
                       ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่จะรับช่วงต่อไป โดยท้าหน้าที่ควบคุมการไหลของน้้าผิวดิน ในขณะเดียวกัน

                       ดินจะท้าหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนตัวของน้้าใต้ผิวดิน ทั้งน้้าผิวดินและน้้าไหลใต้ผิวดินจะไหลและ

                       เคลื่อนตัวลงสู่พื้นที่ต่้าด้วยความเร็วที่แตกต่างกันและในที่สุดจะรวมตัวกันเป็นน้้าที่ไหลในล้าธารด้วย
                       เวลาที่เหลื่อมกันนั่นเอง (ส่วนวิจัยต้นน้้า, 2556)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40