Page 37 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 37
25
1/ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้้าชั้นที่ 1 เป็น
พื้นที่ภายในลุ่มน้้าที่ควรสงวนไว้เป็น
พื้นที่ต้นน้้าล้าธารโดยเฉพาะ
เนื่องจาก อาจมีผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมจากการเปลี่ยนแปลงการ
ใช้ที่ดินได้ง่ายและรุนแรง
2/ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้้าชั้นที่ 2 เป็น
พื้นที่ภายในลุ่มน้้าที่มีความเหมาะสม
1/
พื้นที่ลุ่มน้้าชั้น 1 ต่อการเป็นต้นน้้าล้าธารในระดับรอง
พื้นที่ลุ่มน้้าชั้น 2 จากลุ่มน้้าชั้นที่ 1 สามารถน้าพื้นที่ลุ่ม
2/
น้้าชั้นนี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ที่ส้าคัญ
อย่างอื่นได้ เช่น การท้าเหมืองแร่
เป็นต้น
ภาพที่ 2.5 พื้นที่ต้นน้้าของประเทศไทย ปี 2562
ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (2562)
ตารางที่ 2.1 เนื้อที่ต้นน้้าในจังหวัดภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี 2562
ล าดับ จังหวัด เนื อที่ต้นน า (ไร่) มีเนื อที่ต้นน าในจังหวัด (ร้อยละ)
ภาคเหนือ
1 แม่ฮ่องสอน 7,188,212 90.10
2 น่าน 5,449,094 71.51
3 เชียงใหม่ 9,310,729 67.23
4 แพร่ 1,915,656 47.26
5 เชียงราย 3,401,497 47.01
6 อุตรดิตถ์ 2,181,926 44.09
7 ล้าปาง 3,182,099 40.77
8 พะเยา 1,540,196 39.79
9 ล้าพูน 972,430 34.73
รวมเนื อที่ต้นน าภาคเหนือ 35,141,839 -
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1 เลย 3,293,498 50.11
2 ชัยภูมิ 2,368,348 29.99
3 มุกดาหาร 480,274 18.55