Page 22 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 22

10



                       ที่มีตัวตน แยกออกต่างหากจากสมาชิกกลุ่ม มีสิทธิเหนือสมาชิก สิทธิของปัจเจกจะถูกลดบทบาทลง
                       โดยสิทธิของกลุ่มสามารถถือครองสิทธิร่วมกันเนื่องจากมีผลประโยชน์ร่วมกัน

                              2) สิทธิชุมชนมีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอันเป็นพื้นฐานของการด้ารงอยู่ของมนุษย์

                       และสิทธิชุมชนมีสิทธิเหนือทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพราะชุมชนมีจิตส้านึกและองค์
                       ความรู้ ชุมชนจัดระเบียบกติกา กลไกบังคับตามวิถีของแต่ละชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมในการคุ้มครอง

                       บ้ารุงรักษา และได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อการ

                       ด้ารงชีวิตอย่างปกติสุขและไม่เป็นอันตรายต่อคุณภาพชีวิตของชุมชนซึ่งสิทธิเหล่านี้เป็นสิทธิโดยสภาพ
                       ตามความเป็นจริงที่ชุมชนมีมาอย่างยาวนาน

                              3) ชุมชนแต่ละชุมชนจะมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่มีเนื้อหาของสิทธิที่แตกต่างกันไปตามแต่

                       สภาพภูมิศาสตร์ซึ่งจะส่งผลต่อแบบแผนการด้าเนินชีวิต การด้ารงชีพ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิ
                       ปัญญา ของแต่ละชุมชนให้มีอัตลักษณ์เฉพาะ เช่น ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติจะมีพิธีกรรม

                       บวชป่า ในขณะอีกชุมชนหนึ่งที่อยู่ลุ่มแม่น้้าจะมีวิถีการท้าประมงพื้นบ้าน สิทธิของชุมชนในฐานะที่

                       ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นถือว่าเป็นทรัพย์สินของชุมชน


                       2.2 แนวคิดเกี่ยวกับสันติวิธี

                              เมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้นย่อมมีโอกาสที่จะน้าไปสู่ความรุนแรงขึ้น การจัดการความขัดแย้ง
                       ดังกล่าวให้เข้าสู่ด้านบวกอันเป็นวิธีการที่ท้าให้ทุกคนสามารถพบทางออก และยอมรับกับทางออกของ

                       ปัญหาด้วยกันได้ทุกฝ่าย โดยไม่มีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมองว่า “ขาดความเป็นธรรม” หรือ “ขาดความ

                       ยุติธรรม” ปราศจากความรุนแรง ดังนั้น จึงมีความจ้าเป็นต่อการน้าการจัดการความขัดแย้งดังกล่าว
                       มาใช้ในสถานการณ์ที่ต้องการผลทางบวก ซึ่งแนวทางการจัดการความขัดแย้งที่เป็นที่ยอมรับในระดับ

                       สากลคือ “สันติวิธี” (peaceful means) การใช้แนวทางสันติวิธีสามารถน้าไปสู่สันติภาพได้ ใน

                       การศึกษาความขัดแย้งและสันติภาพที่ให้เป็นไปด้วยความเข้าใจที่ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม ในสังคมไทย
                       ส่วนใหญ่มักกล่าวถึงประเด็นที่กล่าวมาในเชิงมโนธรรม ท้าให้การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งกระท้าได้

                       ยาก รวมถึงประชาชนต่างมีความคาดหวังต่อสังคมสันติสุขที่แตกต่างกัน (บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และ

                       เหมือนขวัญ เรณุมาศ, 2560)


                              2.2.1 การให้ความหมายของสันติวิธี

                              ก่อนทราบความหมายของค้าว่า “สันติวิธี” จะขอกล่าวถึงความหมายของค้าว่า “ความ
                       ขัดแย้ง” ก่อน เนื่องจากเป็นมูลเหตุสู่การน้าแนวทางสันติวิธีมาใช้ โดย บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และ

                       เหมือนขวัญ เรณุมาศ (2560) ให้ค้าจ้ากัดความของ “ความขัดแย้ง” ว่า “เป็นสิ่งที่แสดงถึงความไม่
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27