Page 20 - รายงานการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรน้ำโดยใช้แนวทางสันติวิธี : กรณีศึกษาพื้นที่ต้นน้ำของประเทศไทย
P. 20
8
ชุมชน หรือหลายกลุ่มชาติพันธุ์ โดยไม่จ้ากัดเฉพาะกลุ่มคนในชนบทเท่านั้นแต่จะรวมถึงกลุ่มคนใน
เมืองด้วย กลุ่มคนเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์ทางสังคม มีวัฒนธรรมร่วมกัน มีการจัดสรร การใช้
ทรัพยากรและมีผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งกลุ่มคนนั้นมีอ้านาจอันชอบธรรมถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ประเพณี
หรือข้อตกลงที่บุคคลในสังคมยึดถือร่วมกัน
พงศ์เสวก อเนกจ้านงค์พร และนวพร ศิริบันเทิงศิลป์ (2553) กล่าวว่า “สิทธิชุมชน” หมายถึง
ชุมชนมีสิทธิจัดการทรัพยากรทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่ไม่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเพื่อด้ารง
ไว้ซึ่งการอนุรักษ์ การฟื้นฟู ตลอดจนการจัดการเพื่อการด้ารงอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป โดยสามารถต่อสู้
เพื่อหลุดพ้นจากกลไกของรัฐที่เข้ามาแทรกแซงอย่างแยบยล และสามารถต่อสู้และด้ารงอยู่ได้อย่างเป็น
ธรรมและสันติสืบไป
ดังนั้น ส้าหรับการศึกษาวิจัยนี้จึงอธิบายความหมายของ “สิทธิชุมชน” ว่า “อ้านาจโดยชอบ
ธรรมของคณะบุคคลหรือหมู่คณะที่มีวิถีชีวิตที่ด้าเนินไปเองตามธรรมชาติเพื่อด้ารงไว้ซึ่งการอนุรักษ์
การฟื้นฟู ตลอดจนการจัดการเพื่อการด้ารงอยู่อย่างยั่งยืนต่อไป”
2.1.3 บริบทในขอบเขตและการก าหนดสิทธิและหน้าที่ของชุมชน: ชาติชาย วิริยะเจริญกิจ
และสุรัสวดี แสนสุข (2560) ได้รายงานถึงสิทธิและหน้าของชุมชน ดังนี้
1) สิทธิภายใน หมายถึง การจัดความสัมพันธ์ต่อการใช้ทรัพยากรของสมาชิกในชุมชน เป็น
สิทธิของส่วนรวม (collective rights) ซึ่งใช้จัดการและควบคุมการเข้าถึงทรัพยากรในท้องถิ่นหลาย
ประเภท เช่น การจัดการระบบเหมืองฝาย ป่าต้นน้้า ป่าช้า ทุ่งเลี้ยงสัตว์ของชุมชน และวัด เป็นต้น
และชุมชนมีสิทธิในการใช้ หรือสิทธิเก็บกิน (usufruct rights) หมายถึง สิทธิที่เกิดจากการกระท้าโดย
เน้นกิจกรรมที่ท้าอยู่เป็นพื้นฐาน ผู้ใช้จะไม่สามารถผูกขาดสิทธินั้นไว้ได้โดยตลอด เพราะสิทธิจะหมดไป
เมื่อไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว ดังนั้น สิทธิการใช้หรือสิทธิเก็บกินนี้ จึงไม่ผูกติดกับกลุ่มคนหรือปัจเจกบุคคล
กรณีศึกษาการใช้สิทธิภายใน เช่น
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2561) ศึกษาการเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิชุมชนของชุมชนประมง
พื้นบ้านอ่าวปัตตานี โดยมีวัตถุประสงค์ในการน้าเสนอแนวทางการเข้าถึงสิทธิชุมชนของชาวประมง
พื้นบ้านอ่าวปัตตานี ด้วยการท้าความเข้าใจสภาพปัญหาสิทธิชุมชนในระบบการจัดการและการเข้าถึง
ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลต่อการประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อเข้าถึงสิทธิชุมชนของ
ชุมชนของชาวประมงพื้นบ้านอ่าวปัตตานี ตลอดจนข้อเสนอแนะนโยบายที่เป็นรูปธรรม จากการศึกษา
พบว่า กลุ่มคนที่แตกต่างกันในอ่าวปัตตานีมีความเข้าใจและตีความค้าว่า “สิทธิชุมชน” แตกต่างกัน
กล่าวคือ ชาวประมงพื้นบ้านมองสิทธิชุมชนในลักษณะองค์รวม แต่หน่วยงานภาครัฐมองสิทธิชุมชน
แบบแยกส่วน โดยยึดโยงอยู่กับหลักการทางกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมาย จึงน้ามาสู่
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการเข้าถึงสิทธิชุมชนในอ่าวปัตตานี 7 ด้าน คือ (1) ด้านการจัดสรรพื้นที่