Page 214 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 214
โครงสร้างความรักษาความปลอดภัย (รั้ว ก�าแพง สัญญาณ บ้านปราณี บ้านอุเบกขา บ้านมุทิตา บ้านกาญจนาภิเษก
เตือนภัย กล้องวงจรปิด) พื้นที่รองรับกับจ�านวนผู้ถูกควบคุม สิรินธร บ้านบึง พระนครศรีอยุธยา ศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก
รวมถึงขั้นตอนและวิธีการ มาตรการป้องกันการลักลอบ และเยาวชนเขต ๑ จังหวัดระยอง เขต ๒ จังหวัดราชบุรี
น�าสิ่งของต้องห้ามหรือยาเสพติด สถานที่ประกอบอาหาร เขต ๓ จังหวัดนครราชสีมาเขต ๔ จังหวัดขอนแก่น เขต ๕
สถานที่รับประทานอาหาร จ�านวนมื้ออาหาร ด้านการศึกษา/ จังหวัดอุบลราชธานี เขต ๖ จังหวัดนครสวรรค์ เขต ๗
อบรม ห้องสมุด ห้องเรียน หนังสือ อาทิ วิธีการศึกษา จังหวัดเชียงใหม่ เขต ๘ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เขต ๙
ระดับการศึกษา ระเบียบการใช้ห้องสมุด โอกาสในการใช้ จังหวัดสงขลา เขต ๑๐ จังหวัดสมุทรปราการ และเขต
ห้องสมุด การท�างาน การฝึกงาน ฝึกอาชีพ ๑๑ จังหวัดลพบุรี
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
• การประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น • สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
การประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรพัฒนาเอกชน/ จ�านวน ๒๓ แห่ง อาทิ สถานพินิจและคุ้มครองเด็ก
ภาคประชาสังคม เช่น กรณีพ้นโทษ/ได้รับอนุญาตให้ไป และเยาวชน จังหวัดนครราชสีมา ระยอง ราชบุรี
อยู่นอกศูนย์ฝึก แต่ไม่มีบิดามารดาผู้ปกครอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี เชียงราย สุราษฎร์ธานี ชลบุรี
น่าน บุรีรัมย์ อุบลราชธานี นครสวรรค์ เชียงใหม่ อุดรธานี
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
• แนวทางการสัมภาษณ์เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ เพชรบุรี สงขลา ตาก ขอนแก่น สมุทรปราการ พิษณุโลก
การตรวจเยี่ยม ๑) สัมภาษณ์เด็ก เยาวชน เกี่ยวกับสภาพ สุรินทร์ บ้านปราณี และบ้านเมตตา
ชีวิตความเป็นอยู่ การเรียนหนังสือ การฝึกอาชีพ กิจกรรมการ
ฟื้นฟู การมีส่วนร่วม รวมทั้งความห่วงกังวล การเปลี่ยนแปลง ข้อค้นพบในภาพรวมจากการตรวจเยี่ยมสถานพินิจฯ
ในตัวเองที่ค้นพบ ๒) สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ และศูนย์ฝึกและอบรมฯ
เกี่ยวกับกฎหมาย กฎระเบียบ ระบบ กระบวนการท�างาน โครงสร้างทางกายภาพ พบว่า มีโครงสร้างอาคาร
และปัญหาอุปสรรค ฐานคิด ทัศนคติต่อเด็ก เยาวชนที่ สถานที่โดยทั่วไป การจัดแบ่งอาคารสถานที่เหมาะสม
กระท�าความผิด ก่อนและหลังที่มาปฏิบัติงาน ข้อคิดเห็น พื้นที่รองรับกับจ�านวนผู้ถูกควบคุมมีพื้นที่เพียงพอ มีขั้นตอน
ทางกระบวนการฟื้นฟูเด็ก เยาวชน ตามแนวทางของ และวิธีการ มาตรการป้องกันการลักลอบน�าสิ่งของ
บ้านกาญจนา สามารถเปลี่ยนฐานคิด พฤติกรรมเด็กและ ต้องห้ามหรือยาเสพติด ด้านสาธารณสุขและการบริการ
เยาวชนได้จริงหรือไม่อย่างไร ๓) สัมภาษณ์ผู้บริหาร ด้านการแพทย์ อาทิ มีการรักษาพยาบาลภายใน การส่งต่อ
ข้อกฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ สถานพยาบาลภายนอกกรณีไม่สามารถรักษาได้ มีการดูแล
ทัศนคติเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงานที่เอื้อหรือเป็นอุปสรรค เด็กและเยาวชนที่ตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ คลอดบุตร สถาน
ต่อการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งแนวทางแก้ไข การกระท�าผิดซ�้า พยาบาลภายนอกเปิดโอกาสให้เลี้ยงดูบุตรได้ ๑ ปี ๖ เดือน
และข้อห่วงใยอื่น ๆ เมื่อปล่อยเด็ก เยาวชน ออกจากศูนย์ฝึกฯ สุขอนามัย : ห้องน�้า ห้องอาบน�้า เรือนนอน เครื่องนอน
ความเป็นไปได้จะน�าแนวทางการด�าเนินงานของบ้านกาญจนา ค่อนข้างสะอาดเรียบร้อย ด้านอาหาร สถานที่ประกอบอาหาร
ไปปรับใช้แนวทางด�าเนินการกรณีเด็กเยาวชนอยู่ระหว่าง สถานที่รับประทานอาหาร มีความสะอาด จ�านวนมื้ออาหาร
พิจารณาคดี ตั้งครรภ์/คลอดบุตร มีความหลากหลาย ครบ ๓ มื้อ มีขนม และนม ด้านการศึกษา มีการจัดการศึกษา
ทางเพศ ทุพพลภาพ ป่วยทางจิต ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ สายสามัญ และสายอาชีพ มีห้องสมุด ห้องเรียนหนังสือ
ติดยาเสพติด การปรับเปลี่ยนฐานคิดหรือทัศนคติของ อย่างเพียงพอ ด้านสันทนาการ เปิดโอกาสให้เด็กติดต่อกับ
เจ้าหน้าที่ครอบครัว ชุมชน สังคม การควบคุมตัวเด็ก โลกภายนอก : การโทรศัพท์ การดูโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
เยาวชน กรณีคดียังไม่สิ้นสุด ข้อมูลประวัติการกระท�า มีวันหยุดพักผ่อน มีสถานที่ออกก�าลังกายและมีอุปกรณ์
ความผิดของเด็ก เยาวชน กีฬา มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม การร้องเรียน/
ร้องทุกข์ มีการอนุญาตให้เขียนค�าร้องเรียน/ร้องทุกข์
• สถานที่ที่เฝ้าระวังและด�าเนินการตรวจเยี่ยม ฯ มีตู้รับการร้องเรียนภายใน และมีการพิจารณาค�าร้อง
แบ่งเป็น ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน จ�านวน ๑๙ แห่ง การประกอบพิธีทางศาสนา มีการประกอบพิธีทาง
อาทิ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชาย บ้านกรุณา ศาสนาพุทธ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ
212