Page 211 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 211

การตรวจจากบุคลากรทางการแพทย์ด้วยความรวดเร็ว         (๑.๒) ควรปรับเปลี่ยนวิธีการระหว่างการด�าเนินคดี
              และได้มาตรฐาน ดังนั้น จึงควรจัดบุคลากรทางการแพทย์ อาญาหรือการลงโทษนอกเหนือไปจากการน�าตัวผู้ต้องหา    1
              ให้เพียงพอและจัดสรรงบประมาณที่เกี่ยวข้อง รวมถึง หรือจ�าเลยไปควบคุมไว้ที่เรือนจ�า โดยเฉพาะผู้ต้องหา
              จัดหาสถานที่รักษาพยาบาล ให้เพียงพอแก่ผู้ต้องขัง   ระหว่างการสอบสวนหรือพิจารณาคดี กรณีเช่นนี้นอกจาก   2
                                                               จะเป็นการเอาตัวบุคคลไปไว้ในอ�านาจของรัฐโดยไม่จ�าเป็น
              ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย                  แล้ว ยังสุ่มเสี่ยงที่จะละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคล   3
                 เมื่อพิจารณาบทบัญญัติพระราชบัญญัติราชทัณฑ์  ดังกล่าวด้วย จึงควรแยกสถานที่คุมขังระหว่างผู้ต้องขัง

              พ.ศ. ๒๕๖๐ บางมาตรายังก่อให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้   เด็ดขาดและผู้ต้องขังระหว่างพิจารณา
              เช่น มาตรา ๒๑ ซึ่งบัญญัติให้ดุลยพินิจแก่เจ้าหน้าที่                                                  4
              ในการใช้เครื่องพันธนาการ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๓       (๑.๓)  ควรพิจารณาก�าหนดสถานที่ส�าหรับการ
              ให้อ�านาจเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ที่จะใช้อาวุธแก่ผู้ต้องขังได้  ควบคุมผู้ต้องขังแต่ละประเภทให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น    5
              ซึ่งมีข้อควรระวังในเรื่องเงื่อนไขการใช้อาวุธเช่นเดียวกัน  โดยผู้ต้องขังที่อยู่ระหว่างการพิจารณาคดีและผู้ถูกกักขัง
              และยังพบปัญหาเจ้าหน้าที่บางส่วนไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่  แทนค่าปรับควรถูกควบคุมในสถานที่ที่ไม่ใช่เรือนจ�า
              ให้เป็นไปตามบทบัญญัติของกฎหมายและละเมิด  หรือทัณฑสถานที่ใช้ควบคุมผู้ต้องขังที่ถูกศาลพิพากษา
              สิทธิมนุษยชนของผู้ต้องขัง เช่น กรณีการควบคุมหรือดูแล ลงโทษแล้ว นอกจากนี้ สมควรเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง
              ผู้ต้องขังไม่เป็นไปตามมาตรฐาน เป็นต้น ดังนั้น เพื่อเป็น  แยกสถานที่เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตาม

              การแก้ไขปัญหาดังกล่าว เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์จึงควรได้รับ พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.
              การศึกษาอบรมกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติงาน  ๒๕๔๕ ออกจากพื้นที่ของเรือนจ�าหรือทัณฑสถาน
              รวมถึงหลักสิทธิมนุษยชนให้เกิดความชัดเจน เพื่อให้สามารถ
              ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง   (๑.๔) ควรพิจารณาเพิ่มจ�านวนบุคลากรราชทัณฑ์
              และยกระดับการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องขัง          ให้เพียงพอกับภาระงานและพิจารณาหามาตรการที่สร้าง
                                                               ขวัญและก�าลังใจแก่บุคลากรราชทัณฑ์ให้มากขึ้น ซึ่งจะท�าให้
                 กสม. จึงเห็นควรเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางใน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด�ารงตน

              การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อคณะรัฐมนตรี  ในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐได้อย่างเต็มภาคภูมิ
              กระทรวงยุติธรรม และกรมราชทัณฑ์ ดังนี้
                                                               (๒) ปัญหาการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
              (๑) ปัญหาความแออัดของเรือนจ�า และจ�านวนบุคลากร      คณะรัฐมนตรี ควรพิจารณาเพิ่มจ�านวนบุคลากร        ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
              ราชทัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ                            ทางการแพทย์ที่สามารถให้การรักษาพยาบาลผู้ต้องขัง
                 คณะรัฐมนตรี ควรเร่งหามาตรการแก้ไขปัญหาให้แก่ เจ็บป่วยฉุกเฉินให้ครอบคลุมทั้งกลางวันและกลางคืน
              กรมราชทัณฑ์ เพื่อแก้ไขปัญหาจ�านวนผู้ต้องขังเกินความจุ  และเพิ่มบุคลากรทางด้านสาธารณสุขที่มีความเชี่ยวชาญ
              ของเรือนจ�าหรือทัณฑสถาน และเพิ่มประสิทธิภาพ  ในการดูแลผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจิต เพื่อให้ผู้ต้องขัง
              การควบคุมดูแลแก้ไขฟื้นฟูพฤตินิสัยของผู้ต้องขังภายใน ทุกคนเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่เหมาะสมและ

              เรือนจ�าหรือทัณฑสถาน ดังนี้                      ได้มาตรฐาน อันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ผู้ต้องขังพึงได้รับ
                                                               นอกจากนี้ ควรพิจารณาก�าหนดกลไกในการใช้ดุลพินิจ
                 (๑.๑) ควรพิจารณาใช้นโยบายกระบวนการยุติธรรม ส่งต่อผู้ต้องขังไปรักษาพยาบาลภายนอกเรือนจ�าหรือ
              ทางเลือก เช่น การเบี่ยงเบนคดีอาญาออกจากกระบวนการ ทัณฑสถานให้เหมาะสมต่ออาการเจ็บป่วยของผู้ต้องขัง
              ยุติธรรมกระแสหลักที่มุ่งเน้นให้คดีความขึ้นสู่การพิจารณา
              ของศาลน้อยลงและท�าให้ผู้เสียหายได้รับการเยียวยา  (๓) ปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
              ความเสียหายได้มากขึ้น และกระบวนการแก้ไขบ�าบัด       (๓.๑) กรมราชทัณฑ์ ควรพิจารณาจัดหลักสูตร

              ฟื้นฟูเพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้ต้องขังสามารถกลับคืน  การอบรมเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ให้มีความรู้ความเข้าใจ
              ไปสู่ครอบครัวและชุมชนได้ด้วยความชอบธรรม          ด้านสิทธิมนุษยชน รวมถึงหลักการพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง



                                                                                                                 209
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216