Page 212 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 212

กับมาตรฐานการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง เพื่อให้เจ้าหน้าที่  คณะอนุกรรมการด้านสิทธิเด็กและการศึกษา ภายใต้
            ราชทัณฑ์สามารถปฏิบัติงานตามหลักสิทธิมนุษยชนและ กสม. ได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลและตรวจเยี่ยมสถานที่เสี่ยงต่อ
            ลดปัญหาเรื่องร้องเรียนได้                        การละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชน ตามประเด็นที่ได้ก�าหนด
                                                             จากการศึกษามาตรฐานการดูแลเด็กและเยาวชนที่ถูก
                (๓.๒) กระทรวงยุติธรรมและคณะกรรมการราชทัณฑ์ ลิดรอนสิทธิและเสรีภาพ อาทิ ปฏิญญาสากลว่าด้วย
            ควรร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเหมาะสม สิทธิมนุษยชน (UDHR) กติกา ICCPR กติกา ICESCR
            ของการใช้เครื่องพันธนาการกับแก่ผู้ต้องขัง โดยเฉพาะ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และพิธีสารเลือกรับ คู่มือปฏิบัติการ

            ควรพัฒนาหรือน�ารูปแบบของเครื่องพันธนาการอื่น  ตรวจเยี่ยมสถานที่คุมขัง  ยุทธศาสตร์ต้นแบบและ
            ที่สามารถควบคุมผู้ต้องขังได้มาใช้แทนเครื่องพันธนาการ  มาตรการเชิงปฏิบัติของสหประชาชาติในการขจัดความ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            แบบเดิม และพิจารณายกเลิกการใช้ตรวนเป็นเครื่องพันธนาการ   รุนแรงต่อเด็ก ในด้านการป้องกันอาชญากรรมและ
            เนื่องจากมีลักษณะที่ลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  กระบวนการยุติธรรมทางอาญา (United Nations Model
            ของผู้ต้องขังที่ถูกบังคับใช้ นอกจากนี้ ควรพิจารณาก�าหนด Strategies and Practical Measures on the Field of
            เงื่อนไขการใช้อ�านาจของเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ในการสั่งให้ใช้  Crime Prevention and Criminal Justice) ฯลฯ ซึ่งจาก
            เครื่องพันธนาการแก่ผู้ต้องขังให้เข้มงวดยิ่งขึ้น มิให้เกินเลย ข้อมูลที่ได้ ทั้งจากกฎหมาย ระเบียบ และแนวปฏิบัติของ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ไปกว่าเงื่อนไขที่กฎหมายก�าหนด                    หน่วยงานและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับกระบวนการ
                                                             ประเมินปัจจัยที่ก่อให้เกิดการกระท�าผิด การท�าแผน

            การจัดทำาโครงการเพื่อจัดทำาข้อเสนอแนะมาตรการ บ�าบัดฟื้นฟูรายบุคคล โดยการมีส่วนร่วมของเด็ก พ่อแม่
            หรือแนวทางการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเด็ก ผู้ปกครอง ทีมสหวิชาชีพ โครงสร้างทางกายภาพของสถาน
            และเยาวชนเพื่อส่งเสริมการเคารพและการปฏิบัติ ที่ควบคุมอันเป็นปัจจัยพื้นฐานในการปกป้องคุ้มครองมิให้
            ตามหลักสิทธิมนุษยชนเชิงกัลยาณมิตร: สิทธิเด็ก  เด็กถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน การบริการด้านการแพทย์
            ในกระบวนการยุติธรรม                              และสาธารณสุข สถานที่ให้ญาติมาเยี่ยม ความถี่และ
                กสม. มีอ�านาจหน้าที่ตาม พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ในการ  ระยะเวลาการให้เข้าเยี่ยม ความใกล้ชิดในการเยี่ยม
            ส่งเสริมความเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน  การติดต่อกับโลกภายนอก การร้องเรียน/ร้องทุกข์
            ทั้งในระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศ ตรวจสอบ  การสันทนาการ รวมตลอดจนสถานการณ์ ข้อคิดเห็น

            การกระท�าหรือละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิด  ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ในการด�าเนินการได้มี
            สิทธิมนุษยชน หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศ  การรับฟังความเห็น ข้อเสนอ ตลอดจนปัญหา อุปสรรค
            ที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไข   และข้อขัดข้องในการปกป้อง คุ้มครอง และเยียวยาเด็ก
            การส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานระหว่าง และเยาวชนที่ถูกลิดรอนสิทธิและเสรีภาพ รวมถึงสื่อสาร
            หน่วยงานราชการ องค์การเอกชน และองค์กรอื่นในด้าน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ กฎหมาย และ
            สิทธิมนุษยชน ซึ่งกว่าสิบสี่ปีที่ผ่านมานับแต่ก่อตั้งองค์กร   พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิเด็กแก่หน่วยงานและ
            มีเรื่องร้องเรียนที่ขอให้มีการตรวจสอบการละเมิด  เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
            สิทธิมนุษยชนของเด็กและเยาวชน รวมอยู่ด้วยจ�านวนมาก

            จากการตรวจสอบค�าร้องและจากการตรวจเยี่ยมสถานที่  การด�าเนินการ
            เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิเด็กและเยาวชน พบว่า สาเหตุส�าคัญ   นับตั้งแต่ กสม. ชุดที่ ๓ เข้ามาปฏิบัติหน้าที่ ได้ลงพื้นที่
            ประการหนึ่งที่ท�าให้เกิดการละเมิดสิทธิของเด็กและ ตรวจเยี่ยมเชิงกัลยาณมิตร ณ ศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก
            เยาวชน เนื่องจากการสื่อสารความเข้าใจและตระหนัก และเยาวชนจ�านวน  ๑๙  แห่ง  และสถานพินิจและ
            เกี่ยวกับสิทธิเด็กที่ได้รับการรับรองและคุ้มครองไว้ใน คุ้มครองเด็กและเยาวชน จ�านวน ๒๓ แห่ง โดยมี
            รัฐธรรมนูญ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก กฎหมายว่าด้วย วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อตรวจเยี่ยมและหารือผู้บริหาร
            การคุ้มครองสิทธิเด็ก รวมทั้งมาตรฐานสากลในการปฏิบัติ และเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฝึกและอบรมฯ และสถานพินิจฯ

            ต่อเด็กและเยาวชนในที่คุมขังยังไม่เพียงพอ จึงท�าให้เกิด  เพื่อทราบระบบ กระบวนการท�างาน สภาพปัญหาอุปสรรค
            การกระท�าหรือละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิเด็ก  ที่เกิดขึ้น และสิ่งที่ควรมีการปรับปรุงแก้ไข ๒) เพื่อให้
            และเยาวชน

       210
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217