Page 219 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 219

ใช้สิทธิของประชาชนได้ภายใต้ขอบเขตการใช้สิทธิและ แหล่งข่าวเปิดทั้งที่เป็นเหตุการณ์การชุมนุมและเหตุการณ์
              เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย มีผลตั้งแต่วันที่   การจับกุมและด�าเนินคดีแก่ผู้ชุมนุม รวมทั้งประเด็น   1
              ๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓   สิทธิมนุษยชนที่พบจากการสังเกตการณ์ในพื้นที่ เสนอต่อ
              เป็นต้นมา ก่อนรัฐบาลจะยกเลิกข้อห้ามการชุมนุมตาม  ที่ประชุม กสม. เป็นรายสัปดาห์ รวมทั้งได้มีการด�าเนิน  2
              ข้อก�าหนดฉบับที่ ๑๓ สถานการณ์การชุมนุมของนักเรียน   การที่ส�าคัญ ดังนี้
              นักศึกษา ประชาชน ขยายวงกว้างทั้งในกรุงเทพมหานครและ   •  แปลเรื่อง หลักการส�าคัญ ๑๐ ประการส�าหรับ     3
              ต่างจังหวัด ส่วนใหญ่มีข้อเรียกร้องเกี่ยวกับ ๑) ยุบสภาผู้แทน   การจัดการการชุมนุมอย่างเหมาะสม (10 Principles

              ราษฎร ๒) หยุดคุกคามประชาชน และ ๓) ร่างรัฐธรรมนูญ        for the proper management of assemblies)
              ฉบับใหม่ เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๓ ในการชุมนุม        ที่จัดท�าโดยผู้เสนอรายงานพิเศษแห่งองค์การ    4
              ‘ธรรมศาสตร์จะไม่ทน” ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์             สหประชาชาติ  เป็นภาษาไทยแล้วเผยแพร่
              (ศูนย์รังสิต) กลุ่มธรรมศาสตร์และการชุมนุม ประกาศ        ทางเว็บไซด์                                  5
              ข้อเรียกร้อง ๑๐ ข้อเกี่ยวกับการปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์    •  มีหนังสือถึงนายกรัฐมนตรี เรื่อง เสนอแนะ
              หลังจากนั้นการชุมนุมได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในนาม      มาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
              กลุ่มราษฎร ช่วงเดียวกันก็มีประชาชนกลุ่มที่มีความเห็นต่าง   คุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีสถานการณ์ชุมนุม
              ออกมาจัดกิจกรรมเพื่อปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์          และเรียกร้องทางการเมืองของนักเรียน นิสิต
              นอกจากการชุมนุมเพื่อเรียกร้องทางการเมืองดังกล่าวแล้ว    นักศึกษาและประชาชน

              ก็มีการชุมนุมเรียกร้องของกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เช่น กลุ่มนักเรียน   •  มีหนังสือถึงผู้บัญชาการต�ารวจแห่งชาติ เรื่อง
              ที่เสนอปัญหาความเหลื่อมล�้าในระบบการศึกษาและ            ข้อห่วงใยต่อการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่
              การคุกคามนักเรียนในโรงเรียน ทั้งนี้ การชุมนุมทางการเมือง   ต�ารวจในการควบคุมตัวและด�าเนินคดีแก่ผู้ชุมนุม
              ที่เกิดขึ้นระหว่างเดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๓           ในสถานการณ์การชุมนุม
              ไม่มีเหตุการณ์ความรุนแรงทั้งที่เกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้บังคับ  •  แถลงการณ์ เรื่อง ขอให้ทุกฝ่ายในการชุมนุม
              ใช้กฎหมายและผู้ชุมนุม อาจมีการใช้ถ้อยค�าหรือการแสดง     ยึดหลักสิทธิมนุษยชนและใช้แนวทางสันติวิธี
              ท่าทางอันไม่เหมาะสมตอบโต้กันระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุม       ในการแก้ไขปัญหา เมื่อวันที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๓

              ที่มีความเห็นต่างกันอยู่บ้าง และเจ้าหน้าที่ผู้บังคับ   •  แถลงการณ์ เรื่อง ข้อห่วงใยต่อสถานการณ์
              ใช้กฎหมายใช้มาตรการตามกฎหมายปกติในการจัดการ             การชุมนุมที่จะเกิดขึ้นในวันที่ ๑๙ กันยายน
              กับการชุมนุม รวมถึงการจับกุมผู้จัดการชุมนุม แกนน�า      ๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๖๓
              และผู้ชุมนุมบางคน ซึ่งต่อมาก็ได้รับการปล่อยตัว ส่วนช่วง                                             ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
              ปลายเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ ถึงเดือนมกราคม ๒๕๖๔           แถลงการณ์ทั้งสองฉบับดังกล่าว มีสาระส�าคัญเกี่ยวกับ
              ยังไม่มีการชุมนุมทางการเมืองขนาดใหญ่เช่นเดียวกับ  การขอให้รัฐอ�านวยความสะดวกแก่ประชาชนในการใช้
              ที่เกิดขึ้นในช่วงกลางปี ๒๕๖๓ แต่ยังมีรายงานเกี่ยวกับ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ หลีกเลี่ยง
              การที่เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายแจ้งข้อหาหรือจับกุม การใช้ก�าลังในการรักษาความสงบเรียบร้อย หากจ�าเป็น
              ผู้จัดการชุมนุม แกนน�าหรือผู้ชุมนุมบางคน         ที่มิอาจหลีกเลี่ยงได้ ต้องสอดคล้องกับหลักความจ�าเป็น
                                                               และได้สัดส่วน รวมทั้งขอให้ผู้ชุมนุมใช้เสรีภาพในการ

                 ในการด�าเนินการในเรื่องนี้ กสม. ชุดที่ ๓ ได้แต่งตั้ง  ชุมนุมด้วยความระมัดระวัง ไม่สร้างเงื่อนไขที่อาจท�าให้
              คณะท�างานเพื่อติดตามสถานการณ์กรณีการชุมนุม เกิดความรุนแรง และค�านึงถึงการเคารพสิทธิและเสรีภาพ
              ทางการเมือง ส่งเจ้าหน้าที่เข้าสังเกตการณ์การชุมนุม ของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้ได้มีข้อเสนอแนะไปยัง
              ในพื้นที่ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัด คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดการต่อการชุมนุมตามหลัก
              ใกล้เคียง สรุปสถานการณ์การชุมนุมจากการติดตามทาง สิทธิมนุษยชน










                                                                                                                 217
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224