Page 210 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 210

และขั้นตอนในการยุติการตั้งครรภ์ทั้งก่อนและหลังยุติ  ๒๕๖๑ แล้วพบว่า เรือนจ�าและทัณฑสถานในสังกัด
            การตั้งครรภ์ ตลอดจนกลไกในการขับเคลื่อนกฎหมาย  กรมราชทัณฑ์ได้ด�าเนินงานและประสบปัญหาในด้านต่าง ๆ
            ให้เกิดผลในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม เพื่อให้การยุติ  ดังนี้
            การตั้งครรภ์เป็นทางเลือกสุดท้ายส�าหรับหญิงมีครรภ์
            เป็นต้น ทั้งนี้ ควรมอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุข  ปัญหาความแออัดของเรือนจำา และจำานวนบุคลากร
            เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการด�าเนินการดังกล่าว และเปิดโอกาส ราชทัณฑ์ที่ไม่เพียงพอ
            ให้ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ  จากการตรวจเยี่ยม พบว่า เรือนจ�าหลายแห่งประสบปัญหา

            องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน เข้ามามีส่วนร่วมพิจารณาและ  ความแออัดของเรือนจ�าและจ�านวนบุคลากรราชทัณฑ์
            ให้ความเห็นประกอบการด�าเนินการด้วย               ที่ไม่เพียงพอ เนื่องมาจากจ�านวนผู้ต้องขังที่สูงเกินความจุ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
                                                             ที่เรือนจ�าและทัณฑสถานแต่ละแห่งจะสามารถรองรับได้
            ๔.๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม                     จากข้อมูลผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ ซึ่งกรมราชทัณฑ์

                                                             ได้ส�ารวจและเผยแพร่ พบว่า เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์
                สิทธิในกระบวนการยุติธรรมเป็นสิทธิที่ได้รับ  ๒๕๖๒ มีผู้ต้องขังที่อยู่ในความควบคุมของเรือนจ�าและ
            การรับรองและคุ้มครองในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย   ทัณฑสถานต่าง  ๆ  เกินความจุที่เรือนจ�าแต่ละแห่ง
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            พุทธศักราช  ๒๕๖๐  โดยเฉพาะมาตรา  ๒๘  และ จะรองรับได้เกินกว่าสองเท่าของความจุ เมื่อเปรียบเทียบ
            มาตรา ๒๙ อันสอดคล้องกับกติกา ICCPR ข้อ ๙ และ  กับจ�านวนเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ที่มีหน้าที่ควบคุมดูแล

            ข้อ ๑๔ ตามล�าดับ รวมทั้งยังได้รับการรับรองและคุ้มครอง ผู้ต้องขังแล้วพบว่า มีสัดส่วนเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ๑ คน
            ไว้ในข้ออื่นอีกหลายประการตามกติกา ICCPR ประกอบกับ  ต่อผู้ต้องขังประมาณ ๑๐๐ คน ปัญหานี้ ไม่เพียงแต่
            เป็นประเภทของสิทธิมนุษยชนที่มีเรื่องร้องเรียนมายัง  จะส่งผลต่อสภาพความเป็นอยู่ของผู้ต้องขังเท่านั้น แต่ยัง
            กสม. เป็นจ�านวนมาก กสม. ชุดที่ ๓ จึงก�าหนดให้เป็น  ส่งผลต่อระบบการบริหารจัดการเรือนจ�าอีกด้วย จึงเห็นว่า
            หนึ่งประเด็นส�าคัญในการด�าเนินการ  เพื่อน�าไปสู่  ปัญหาดังกล่าวควรได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ด้วยการ
            การก�าหนดมาตรการในการป้องกันและแก้ปัญหา  ลดจ�านวนผู้ต้องขังเข้าใหม่ทั้งทางนโยบายและกฎหมาย
            การละเมิดสิทธิมนุษยชนประการนี้อย่างเป็นระบบ ดังนี้  และพิจารณาเพิ่มจ�านวนบุคลากรราชทัณฑ์ รวมถึง

                                                             ก�าหนดวิธีการในการสร้างขวัญและก�าลังใจให้แก่บุคลากร
            การจัดทำาข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง  เพื่อด�ารงตนในฐานะเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐได้อย่างเต็มภาคภูมิ
            ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณี
            ปัญหาในการดำาเนินงานด้านกระบวนการยุติธรรม  ปัญหาการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุข
            ที่พบจากการดำาเนินโครงการตรวจเยี่ยมสถานที่          จากการตรวจเยี่ยม พบว่า เรือนจ�าและทัณฑสถาน
            เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน                   ยังประสบปัญหาในด้านการรักษาพยาบาลผู้ต้องขัง โดยเฉพาะ
                กรมราชทัณฑ์เป็นหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่บริหาร กรณีขาดแพทย์ที่จะสามารถให้บริการแก่ผู้ต้องขังที่เกิด
            จัดการเรือนจ�าและดูแลผู้ต้องขัง โดยมีจุดมุ่งหมาย  อาการเจ็บป่วยอย่างรุนแรงเกินกว่าที่พยาบาลวิชาชีพ
            เพื่อบ�าบัดฟื้นฟู แก้ไข และพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง จะให้การรักษาได้ รวมถึงระบบส่งต่อผู้ต้องขังไปรับ

            ให้สามารถกลับสู่สังคม รวมถึงมีหน้าที่ด�าเนินการให้เป็น การรักษาพยาบาลยังสถานพยาบาลใกล้เคียงที่มีศักยภาพ
            ไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศ ได้แก่ กติกา ICCPR   มากกว่า เนื่องจากเมื่อผู้ต้องขังจะต้องถูกส่งตัวไปรักษา
            ข้อก�าหนดมาตรฐานขั้นต�่าแห่งสหประชาชาติว่าด้วย  ที่สถานพยาบาลภายนอกเรือนจ�าหรือทัณฑสถาน จ�าเป็น
            การปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง หรือข้อก�าหนดแมนเดลาด้วย ทั้งนี้  ที่จะต้องใช้บุคลากรของเรือนจ�าและทัณฑสถานแห่งนั้น
            เพื่อก�ากับให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายและพันธกรณี ไปท�าหน้าที่เฝ้าและควบคุมผู้ต้องขังในสถานพยาบาล
            ระหว่างประเทศดังกล่าว  โดยเฉพาะการเฝ้าระวัง  เพื่อป้องกันการหลบหนี เป็นเหตุให้บุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่
            และป้องกันมิให้เกิดการกระท�าที่อาจละเมิดสิทธิมนุษยชน  ตามปกติลดลง ซึ่งหากพิจารณาจากข้อก�าหนดมาตรฐาน

            ในสถานที่คุมขังบุคคลได้ กสม. จึงด�าเนินโครงการตรวจเยี่ยม  ขั้นต�่าแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
            สถานที่เสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. ๒๕๖๐ -   หรือข้อก�าหนดแมนเดลา ซึ่งก�าหนดให้ผู้ต้องขังควรได้รับ



       208
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215