Page 218 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 218
และมีข้อเสนอเกี่ยวกับการมีมาตรการเพื่อลดความเสี่ยง
แถลงการณ์ เรื่อง สถานการณ์การแพร่ระบาด การมีช่องทางการสื่อสารความรู้เรื่องการป้องกันโรค และ
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) การด�าเนินมาตรการของรัฐอย่างทั่วถึงและในรูปแบบ
ฉบับที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๓
ที่สามารถเข้าใจได้ นอกจากนี้ ได้เผยแพร่แถลงการณ์/ข่าว
ประชาสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องที่ส�าคัญ เช่น
แถลงการณ์ เรื่อง สถานการณ์การแพร่ระบาด แถลงการณ์ เรื่อง ข้อห่วงใยต่อสถานการณ์
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
(ฉบับที่ ๒) เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๓
๒๐๑๙ (COVID-19) ระลอกใหม่ เมื่อวันที่
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๔
โดยให้ความส�าคัญเกี่ยวกับการบูรณาการการท�างาน
ระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง การเปิดเผยข้อมูล ข่าวประชาสัมพันธ์ เรื่อง กสม. ห่วงโควิด 19
ข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคอย่าง กระทบสิทธิผู้ต้องขังในเรือนจ�า แนะรัฐบาล
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
เป็นระบบและชัดเจน การแก้ปัญหาการขาดแคลน ฉีดวัคซีนให้ผู้ต้องขังอย่างทั่วถึง เพื่อป้องกัน
อุปกรณ์และสิ่งจ�าเป็นในการป้องกันโรค การให้การดูแล และลดความรุนแรงของการแพร่ระบาด
และเยียวยาเป็นพิเศษแก่กลุ่มเปราะบาง (ผู้มีรายได้น้อย เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔
ผู้อาศัยในพื้นที่ห่างไกล ผู้สูงอายุ คนพิการ ฯลฯ) และ
การมีมาตรการเยียวยาแก่ผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง
เช่น ผู้ใช้แรงงานที่ต้องหยุดงานตามค�าสั่งหรือมาตรการ ๔.๗ เสรีภาพในการแสดงความ
ของรัฐ เป็นต้น รวมทั้งได้จัดท�ารายงานผลการประเมิน คิดเห็น การพูด การโฆษณา และ
สถานการณ์เรื่องนี้ไว้เป็นส่วนหนึ่งในรายงานผล เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ
การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย ในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง
ประจ�าปี ๒๕๖๓
สถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองในปี ๒๕๖๓
ส่วนการระบาดในรอบที่ ๒ เมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๖๓ เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ โดยประชาชนส่วนหนึ่ง
เป็นต้นมา กสม. ชุดที่ ๓ ได้แต่งตั้งคณะท�างานติดตาม จัดกิจกรรมทั้งในกรุงเทพมหานคร และต่างจังหวัด
สถานการณ์และเฝ้าระวังผลกระทบของการแพร่ระบาด มีวัตถุประสงค์คือ ๑) ให้รัฐบาลแก้ปัญหาเศรษฐกิจ
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ๒) แก้ไขรัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามหลักประชาธิปไตย
และเมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๓ ได้จัดท�าเอกสารข่าว และเปิดช่องให้ประชาชนสามารถแสดงความคิดเห็น
เรื่อง “กสม. ห่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ได้อย่างเสรี และ ๓) หยุดใช้อ�านาจเอื้อประโยชน์ให้พวกพ้อง
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) ระลอกใหม่ ส่งผลกระทบ และหยุดรังแกผู้เห็นต่าง ต่อมานายกรัฐมนตรีได้อาศัย
ด้านสิทธิมนุษยชนในหลายมิติ ขอรัฐประกันสิทธิ อ�านาจตามมาตรา ๙ แห่งพระราชก�าหนดการบริหาร
ในสุขภาพและการด�ารงชีพ - สังคมไม่ตีตราผู้ได้รับ ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศ
ผลกระทบ” มีเนื้อหาเกี่ยวกับความกังวลต่อการเข้าถึง สถานการณ์ฉุกเฉินทั่วราชอาณาจักร มีผลตั้งแต่วันที่ ๒๖
การรักษาพยาบาลและมาตรการป้องกันด้านสาธารณสุข มีนาคม ๒๕๖๓ และออกข้อก�าหนดเพื่อควบคุมการแพร่
อย่างทั่วถึงของประชาชนทั้งคนไทยและแรงงานต่างด้าว ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ในพื้นที่การระบาดสูง โดยเฉพาะการใช้มาตรการควบคุม รวมถึงการห้ามการชุมนุม ในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๓
การเข้า-ออกและการเคลื่อนย้ายของแรงงานต่างด้าว รัฐบาลได้ผ่อนปรนมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด
ในพื้นที่ดังกล่าว การมีสภาพความเป็นอยู่ที่แออัดและ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยออกประกาศ
ยังไม่สามารถแยกผู้ที่อาจติดเชื้อและไม่ติดเชื้อออกจากกันได้ ข้อก�าหนด (ฉบับที่ ๑๓) ให้สามารถมีกิจกรรมรวมกลุ่มหรือ
216