Page 209 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 209
แก่ประชาชนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ ทุกช่วงวัยอย่างเสมอภาคและทั่วถึง
ช่องทางการเข้าถึงการให้ค�าปรึกษาทางเลือกและการ 1
ให้บริการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อให้ประชาชนสามารถ (๒) ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย กฎ
ตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ของตน ระเบียบ หรือค�าสั่ง 2
ได้อย่างถูกต้องและเข้ารับบริการด้านสุขภาพที่ปลอดภัย (๒.๑) รัฐสภาควรพิจารณาแก้ไขปรับปรุงประมวล
ได้อย่างรวดเร็ว กฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๑ โดยก�าหนดอายุครรภ์ 3
ที่เหมาะสมไว้ในบทบัญญัติของกฎหมาย เพื่อรับรอง
(๑.๒) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง และคุ้มครองสิทธิของหญิงมีครรภ์ให้สามารถตัดสินใจยุติ
ของมนุษย์ ควรส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ จัดให้มีและ การตั้งครรภ์ได้โดยชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งจะต้องค�านึงถึง 4
เผยแพร่ข้อมูลแก่ประชาชน ในส่วนที่เกี่ยวกับสวัสดิการ เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัยและปลอดภัย รวมถึง
ทางสังคมและบริการด้านสังคมสงเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับ ระยะเวลาและความสามารถในการเข้าถึงบริการยุติการ 5
การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและการยุติการตั้งครรภ์ โดยต้อง ตั้งครรภ์ของผู้รับบริการ โดยอายุครรภ์ที่มีความเหมาะสม
สนับสนุนการให้ค�าปรึกษาและข้อมูลที่เชื่อถือได้แก่หญิง ในการยุติการตั้งครรภ์ คือ ช่วงอายุครรภ์ระหว่าง ๑๒ - ๒๐
ที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม และปรับปรุงระบบการเข้าถึงสวัสดิการ สัปดาห์ เนื่องจากเป็นช่วงระยะเวลาที่ยังมีความปลอดภัย
ทางสังคมที่มีอยู่ให้สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก รวดเร็ว แก่หญิงในการยุติการตั้งครรภ์และตัวอ่อนในครรภ์ยังมี
ต่อเนื่อง และมีคุณภาพ อวัยวะที่ส�าคัญไม่ครบถ้วนเพียงพอที่จะคลอดแล้วมีชีวิต
รอดได้อย่างแน่แท้
(๑.๓) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์และกระทรวงสาธารณสุข ควรสนับสนุนให้หญิง (๒.๒) รัฐสภาควรพิจารณาแก้ไขถ้อยค�าตามประมวล
มีครรภ์มีทางเลือกในการตั้งครรภ์ต่อไปจนกระทั่งคลอดบุตร กฎหมายอาญา มาตรา ๓๐๕ จากค�าว่า “นายแพทย์”
อย่างปลอดภัย และสามารถเลี้ยงดูบุตรต่อไปได้อย่างมี เป็นค�าว่า “ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม” เพื่อให้การคุ้มครอง
คุณภาพ เพื่อท�าให้เกิดความมั่นใจว่าเด็กที่เกิดจากการ บุคลากรทางการแพทย์ที่ให้บริการยุติการตั้งครรภ์
ตั้งครรภ์ไม่พร้อมจะได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพในกรณี ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของกฎหมาย รวมถึงการพิจารณา
ที่ไม่สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้ไม่ว่าด้วยเหตุอายุครรภ์ ก�าหนดเหตุยกเว้นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
ล่วงเลยระยะเวลาที่กฎหมายก�าหนดหรือไม่อยู่ในกรอบ มาตรา ๓๐๕ เพิ่มเติม ให้ครอบคลุมเหตุผลความจ�าเป็น
ที่กฎหมายอนุญาตให้ยุติการตั้งครรภ์ การคุ้มครองสิทธิ ในการยุติการตั้งครรภ์ทั้งมิติด้านสุขภาพและด้านเศรษฐกิจ
ของตัวอ่อนในครรภ์ของหญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมเพื่อให้ และสังคม อาทิ ความผิดปกติของตัวอ่อนในครรภ์ ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกได้อย่างปลอดภัยจ�าเป็น ความล้มเหลวในการคุมก�าเนิด
ต้องเตรียมกระบวนการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ
(๒.๓) คณะรัฐมนตรี ควรพิจารณามอบหมาย
(๑.๔) คณะรัฐมนตรี ควรจัดสรรหรือสนับสนุน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องศึกษาและด�าเนินการแก้ไข
งบประมาณแก่กระทรวงสาธารณสุขในการจัดให้สถานบริการ ปรับปรุงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ ได้แก่
ด้านสาธารณสุขทุกแห่งและทุกระดับทั้งในระดับปฐมภูมิ พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ มีบริการด้านอนามัย ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิด
การเจริญพันธุ์ที่ครอบคลุมการให้บริการสุขภาพทางเพศ โดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์การแพทย์
และอนามัยการเจริญพันธุ์ที่จ�าเป็น ซึ่งหมายความรวมถึง พ.ศ. ๒๕๕๘ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวกับการสงเคราะห์และ
การวางแผนครอบครัว การคุมก�าเนิด การทดสอบ การตั้งครรภ์ ส่งเสริมสวัสดิการสังคม รวมถึงกฎ ระเบียบ ประกาศ และ
การดูแลและให้ค�าปรึกษาทั้งก่อนและหลังการตั้งครรภ์ ข้อบังคับอื่นใดที่อาศัยอ�านาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
และการยุติการตั้งครรภ์ เพื่อให้สถานบริการด้านสาธารณสุข การยุติการตั้งครรภ์ ให้สอดรับกับแนวคิดและหลักการ
มีความพร้อมทั้งในด้านบุคลากร เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ในการแก้ไขปรับปรุงประมวลกฎหมายอาญา รวมถึง
และสถานที่ส�าหรับให้บริการประชาชนทุกกลุ่มและ ก�าหนดแนวทางหรือมาตรฐานการปฏิบัติ กระบวนการ
207