Page 213 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 213
เจ้าหน้าที่เข้าใจและตระหนักถึงความส�าคัญของสิทธิ ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก
ที่เด็กได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ พันธกรณี พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและ 1
ระหว่างประเทศด้านสิทธิเด็กที่ประเทศไทยให้สัตยาบัน วิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๓ และ
และกฎหมายภายใน ๓) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ทราบถึง คู่มือปฏิบัติการตรวจเยี่ยมสถานที่คุมขัง ทั้งนี้ เพื่อให้ 2
สิทธิและเสรีภาพตามหลักสิทธิมนุษยชนที่ตนพึงได้รับ การด�าเนินการตรวจเยี่ยมเป็นไปตามกฎหมายและ
ตลอดจนความเหมาะสมทางกายภาพและชีวภาพที่เอื้อต่อ มาตรฐานสากล โดยไม่ให้ต�่ากว่ามาตรฐานที่ก�าหนดไว้ 3
กระบวนการฟื้นฟู ทั้งนี้ เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ กสม.
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๕ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมและติดตาม การตรวจเยี่ยม ฯ ได้มีการก�าหนดประเด็นต่าง ๆ
ให้ทุกภาคส่วนของสังคมเกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนตาม เพื่อเป็นแนวทางในการตรวจเยี่ยม ฯ และสร้างมาตรฐาน 4
ที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ให้กับหน่วยงานโดยพิจารณาดังนี้
กฎหมายไทย และพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน 5
ที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตาม กลยุทธ์ที่ ๑.๒ ติดตามและ • กระบวนการจัดท�าแผนบ�าบัด แก้ไข และฟื้นฟู
สนับสนุนให้หน่วยงานภาครัฐปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชน เด็กและเยาวชน ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
แห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและ กระบวนการประเมินปัจจัยที่ก่อให้เกิดการกระท�าผิด
สร้างความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชนสื่อสารเกี่ยวกับ กระบวนการต้องการรับการบ�าบัดในรายบุคคล การจัดท�า
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย รวมทั้ง แผนบ�าบัดฟื้นฟู และการประเมิน โดยให้เด็กและเยาวชน
ผลงานส�าคัญของ กสม. ต่อสาธารณชนอย่างถูกต้องและ มีส่วนร่วมและเข้ามามีบทบาทในการเลือกแนวทาง
ทั่วถึง กลยุทธ์ที่ ๔.๑ พัฒนางานส่งเสริมสิทธิมนุษยชน การบ�าบัด แก้ไข ฟื้นฟูของตนเอง โดยพ่อแม่/ผู้ปกครอง
และจัดให้มีแผนในการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ มีส่วนเกี่ยวข้องในการท�าแผนและปฏิบัติตามแผน การมี
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ครอบคลุมเนื้อหา กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่/ผู้ประกอบวิชาชีพร่วมจัดท�าแผนบ�าบัด แก้ไข
และกระบวนการที่หลากหลายและเหมาะสม กลยุทธ์ และฟื้นฟู มีการให้ชุมชน สถานศึกษา และสถานที่
ที่ ๔.๒ พัฒนากลไก ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์ ทางศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการบ�าบัด แก้ไขและฟื้นฟู
สิทธิมนุษยชน และชี้แจงแสดงท่าทีตอบสนองต่อปัญหา
และสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญอย่างถูกต้องและ • โครงสร้างทางกายภาพและสวัสดิการ สถานที่
มีประสิทธิภาพ เขียนค�าร้องเรียน/ร้องทุกข์ ทั้งกรณีการร้องเรียนภายใน
และภายนอก รวมทั้งระบบ ขั้นตอน วิธีปฏิบัติในการ
หลักเกณฑ์และแนวทางการตรวจเยี่ยม ในการตรวจ ร้องเรียน/ร้องทุกข์ ขั้นตอนในการพิจารณาค�าร้องทุกข์ ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
เยี่ยมเชิงกัลยาณมิตรฯ ได้ด�าเนินการตามรัฐธรรมนูญ การใช้เครื่องพันธนาการ เมื่อต้องออกไปภายนอกศูนย์ฝึกฯ
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก กฎอันเป็นมาตรฐานขั้นต�่า การควบคุม/ดูแลกลุ่มพิเศษ เช่น ชาวต่างชาติ ชนกลุ่มน้อย
ของสหประชาชาติว่าด้วยการบริหารงานยุติธรรมเกี่ยวกับ (เช่น การใช้ล่าม/การจัดหาล่ามการสื่อสาร) บุคคล
คดีเด็กและเยาวชน (กฎแห่งกรุงปักกิ่ง) (Beijing Rules) หลากหลายทางเพศ การบริการด้านการแพทย์ อาทิ
ข้อเสนอแนะของสหประชาชาติว่าด้วยการคุ้มครองเด็ก การรักษาพยาบาลภายในเรือนจ�า การส่งต่อสถานพยาบาล
และเยาวชน (ข้อแนะน�าแห่งกรุงริยาด) (the Riyadh ภายนอกเรือนจ�า การให้ค�าปรึกษาด้านจิตเวช หน่วยแพทย์
Guidelines) กฎของสหประชาชาติว่าด้วยการคุ้มครอง อาสาเฉพาะด้าน เช่น ทันตกรรม ด้านสุขอนามัย อาทิ
เด็กและเยาวชนซึ่งถูกลิดรอนเสรีภาพ ข้อแนะน�าว่าด้วย ห้องน�้า ห้องอาบน�้า เรือนนอน เครื่องนอน อุปกรณ์
การปฏิบัติต่อเด็กในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คู่มือ เกี่ยวกับสุขอนามัย โรคติดต่อ สถานที่ให้ญาติเยี่ยม
กระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับเด็กซึ่งเป็นเหยื่อและ ความถี่และระยะเวลาในการเข้าเยี่ยม ความใกล้ชิดใน
พยานของอาชญากรรม ข้อก�าหนดสหประชาชาติว่าด้วย การเยี่ยมของญาติ ด้านการติดต่อกับโลกภายนอก อาทิ
การปฏิบัติต่อผู้ต้องขังหญิงในเรือนจ�า และมาตรการที่มิใช่ การโทรศัพท์ การดูโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ การประกอบ
การคุมขังส�าหรับผู้กระท�าผิดหญิง (ข้อก�าหนดกรุงเทพฯ) พิธีทางศาสนา สันทนาการ พักผ่อน อุปกรณ์กีฬา การจัด
(The Bangkok Rules) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของ สภาพแวดล้อม โครงสร้างอาคารสถานที่โดยทั่วไป
211