Page 217 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 217
เจ้าหน้าที่ของรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยได้ ในเดือนมกราคม ๒๕๖๓ และพบว่ามีการระบาดเพิ่มขึ้น
แต่งตั้งคณะท�างานประกอบด้วยผู้แทนของส�านักงาน ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ต่อมาวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๓ 1
กสม. และจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหน่วย รัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชก�าหนดการบริหารราชการ
งานของรัฐในพื้นที่ (กอ.รมอ ภาค ๔ ส่วนหน้า) มีเนื้อหา ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ และมาตรการป้องกัน 2
ประกอบด้วย แนวคิดพื้นฐาน ความหมาย เนื้อหาของ และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคหลายประการ รวมถึง
สิทธิมนุษยชนตามพันธกรณีระหว่างประเทศ รัฐธรรมนูญ การประกาศช่วงเวลาห้ามออกนอกบ้าน (เคอร์ฟิว) และ 3
และกฎหมาย การเคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ มาตรการช่วยเหลือเยียวยาทางเศรษฐกิจ เมื่อจ�านวน
ของผู้อื่นตามหน้าที่พลเมือง รวมทั้งได้จัดรับฟังความคิดเห็น ผู้ติดเชื้อสะสมและผู้ติดเชื้อรายใหม่ภายในประเทศมีแนวโน้ม
ส�าหรับปรับปรุงคู่มือดังกล่าว และจัดพิมพ์เป็นหนังสือ ลดลงในเดือนเมษายน ๒๕๖๓ รัฐบาลจึงได้ผ่อนคลาย 4
จ�านวน ๒,๐๐๐ เล่ม ส�าหรับใช้ในการจัดอบรมเจ้าหน้าที่ มาตรการป้องกันและควบคุมเพื่อให้ประชาชนสามารถ
ของรัฐฝ่ายความมั่นคง ด�ารงชีวิตตามปกติมากขึ้นเป็นระยะ ๆ ต่อมาปลายเดือน 5
ธันวาคม ๒๕๖๓ มีรายงานว่าพบผู้ติดเชื้อรายใหม่ภายใน
๔.๕.๔ การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความ ประเทศที่จังหวัดสมุทรสาคร จากนั้นก็พบผู้ติดเชื้อรายใหม่
เข้าใจเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดน และผู้ติดเชื้อสะสมเพิ่มขึ้นเป็นจ�านวนมาก ในสัดส่วน
ภาคใต้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เป็นการด�าเนินการ ที่สูงกว่าการแพร่ระบาดในรอบแรกค่อนข้างสูง ในครั้งนี้
ร่วมกับ กอ.รมน. ภาค ๔ ส่วนหน้า กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ รัฐบาลไม่ได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมและป้องกัน
เจ้าหน้าที่ของรัฐ จัดฝึกอบรมที่จังหวัดปัตตานี โดยแบ่งออก การแพร่ระบาดอย่างเข้มงวดมากเท่าการระบาดในรอบแรก
เป็น ๒ รุ่น ดังนี้ ส่วนการประกาศใช้พระราชก�าหนดการบริหารราชการ
ในสถานการณ์ฉุกเฉินฯ ยังคงขยายระยะอย่างต่อเนื่อง
รุ่นที่ ๑ ระดับผู้บังคับบัญชา จ�านวน ๓๐ คน ระหว่าง ล่าสุดเมื่อกลางเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๔ รัฐบาล
วันที่ ๓๐ - ๓๑ มกราคม ๒๕๖๓ โดยศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (ศบค.) ได้ขยายการบังคับใช้กฎหมาย
รุ่นที่ ๒ ระดับผู้ปฏิบัติ จ�านวน ๗๐ คน ระหว่างวันที่ ดังกล่าว ออกไปจนถึงวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔
๖ - ๗ สิงหาคม ๒๕๖๓
ในการด�าเนินการเรื่องนี้ ในช่วงการแพร่ระบาดรอบแรก
มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในหลัก กสม. ชุดที่ ๓ มอบหมายให้ส�านักงาน กสม. จัดให้มี
สิทธิมนุษยชน และลดปัญหาเรื่องร้องเรียนจากการบังคับ กระบวนการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์การแพร่ ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
ใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง พร้อมทั้งมอบหนังสือ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
คู่มือสิทธิมนุษยชนศึกษาส�าหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในจังหวัด และมาตรการของรัฐที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ มาตรการด้านป้องกัน
ชายแดนภาคใต้ ให้กับ กอ.รมน. ภาค ๔ ส่วนหน้า วิธีฝึกอบรม และควบคุมโรค ด้านการรักษาพยาบาล และด้านการ
ใช้การบรรยาย อภิปราย มีเนื้อหาเกี่ยวกับหลักการ เยียวยาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้การรวบรวมข้อมูลจากการ
สิทธิมนุษยชน พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน แถลงสถานการณ์รายวันของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่
ที่ประเทศไทยเป็นภาคีและกลไกการคุ้มครอง อนุสัญญา ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (ศบค.) และ
CAT เป็นต้น จากแหล่งข่าวเปิดทั่วไป ประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
ตามหลักการด้านสิทธิมนุษยชนที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ
๔.๖ ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน และกฎหมายระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ไทยเป็น
ในสถานการณ์การระบาดของโรค ภาคี จัดท�าเป็นเอกสารสรุปผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
เสนอต่อ กสม. ทุก ๑๕ วัน นับแต่เดือนมกราคม - เดือน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส มิถุนายน ๒๕๖๓ กสม. ชุดที่ ๓ ออกแถลงการณ์จ�านวน
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในประเทศไทยรอบแรก เริ่มขึ้น ๒ ฉบับ ได้แก่
215