Page 188 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 188

ผลกระทบจากร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวและ ที่ยั่งยืนในกรอบสหประชาชาติ หลังปี ๒๕๕๘ - ๒๕๗๓
            นโยบายการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และ (Sustainable Development Goals - SDGs post - 2015
            ผู้มีส่วนได้เสียในระดับพื้นที่เพิ่มเติม รวมทั้งเปิดโอกาส  - 2030)
            ให้นักวิชาการ และภาคประชาชนได้เสนอความคิดเห็น
            และข้อห่วงกังวลในรายมาตรา เพื่อประกอบการพิจารณา ผลการด�าเนินการ
            ให้ครบถ้วนรอบด้าน                                   ส�านักนายกรัฐมนตรีมีหนังสือ  ด่วนที่สุด  ที่  นร
                                                             ๐๕๐๕/๕๖๒ ลงวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑ แจ้งว่า

                (๒) รัฐสภา ในชั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและปฏิบัติ
            ร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ....   ราชการแทนนายกรัฐมนตรี มีค�าสั่งมอบหมายให้กระทรวง
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            และการพิจารณาวาระ ๒ และ ๓ ควรพิจารณาให้มี  อุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานหลักในการรับข้อเสนอแนะ
            การแก้ไขร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก   มาตรการของ กสม. และหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๕/๗๗๕๙
            พ.ศ. .... มาตรา ๓๖ ว่าด้วยเรื่องการเข้าใช้ประโยชน์ที่ดิน ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๑ แจ้งว่า คณะรัฐมนตรีมีมติ
            ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม หากเป็นการเข้าใช้  เมื่อวันที่  ๑๓  มีนาคม  ๒๕๖๑  รับทราบสรุปผล
            ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอื่นนอกเหนือจากที่ก�าหนด  การพิจารณาด�าเนินการตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมได้เสนอ
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ในกฎหมายว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม   สรุปได้ ดังนี้
            ควรด�าเนินการเท่าที่จ�าเป็น และจะต้องด�าเนินการด้วยวิธี

            การเพิกถอนที่ดินบริเวณนั้นออกจากการเป็นเขตปฏิรูป    (๑)  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
            ที่ดินตามกระบวนการขั้นตอนของกฎหมาย รวมทั้งจะต้อง เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. .... ได้น�าข้อคิดเห็น
            ชดเชยเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรม        และข้อเสนอแนะของ กสม. ไปปรับปรุงร่างมาตรา ๓๗
                                                             โดยตัดข้อความ “(๗) กฎหมายว่าด้วยการอื่นใดตามที่
                (๓) รัฐสภา ในชั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ก�าหนดในพระราชกฤษฎีกา” เพื่อเป็นการจ�ากัดอ�านาจ
            ร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก   การอนุมัติ อนุญาต ให้สิทธิ ให้สัมปทาน ออกใบอนุญาต
            พ.ศ. .... และการพิจารณาวาระ ๒ และ ๓ ควรพิจารณา ให้ความเห็นชอบ  รับจดทะเบียนหรือรับแจ้งของ

            ให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๓   คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
            เพื่อเป็นหลักประกันว่าการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหลักเกณฑ์  และปรับปรุงร่างมาตรา ๔๓ โดยตัดข้อความ “(๙) กฎหมาย
            วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุมัติ อนุญาต หรือการอื่น   ว่าด้วยการอื่นใดตามที่ก�าหนดในพระราชกฤษฎีกา”
            จะไม่กระทบต่อสิทธิเสรีภาพและกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อจ�ากัดอ�านาจอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต หรือ
            ที่มีอยู่ในกฎหมายว่าด้วยการนั้น                  ให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มีอ�านาจ ในการรับจดทะเบียน
                                                             หรือรับแจ้งตามกฎหมายของเลขาธิการ
                (๔) คณะรัฐมนตรีควรก�าชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
            ในการจัดท�าแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินในภาพรวมและ       (๒)  คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
            แผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการจัดท�า เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. .... ได้น�าข้อคิดเห็น

            ผังเมืองในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ตามค�าสั่ง และข้อเสนอแนะของ กสม. ไปประกอบการพิจารณา
            หัวหน้า คสช. ที่ ๔๗/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐  ปรับปรุงร่างมาตรา ๓๑ โดยตัดข้อความว่า “(๑) มิให้น�า
            เรื่อง ข้อก�าหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดินในพื้นที่ระเบียง กฎหมายว่าด้วยการผังเมืองมาใช้บังคับแก่การจัดท�า
            เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก พิจารณาด�าเนินการ  แผนผังนั้น” และเพิ่มข้อความว่า “(๑) ให้ด�าเนินการตาม
            ด้วยความระมัดระวัง ทั้งนี้ การด�าเนินการดังกล่าว  หลักวิชาการผังเมือง ทั้งนี้ เพื่อให้การจัดท�าแผนผังการใช้
            ต้องไม่กระทบต่อกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  ประโยชน์ที่ดิน และแผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
            ที่ได้รับการรับรองไว้ตามรัฐธรรมนูญ และพันธกรณี และระบบสาธารณูปโภคเป็นไปโดยถูกต้องและสอดคล้อง

            ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี   ตามหลักวิชาการผังเมืองที่ดีและมีประสิทธิภาพ อีกทั้ง
            และสอดคล้องกับหลักการตามเป้าหมายการพัฒนา  ให้น�าข้อความตามค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๔๗/๒๕๖๐



       186
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193