Page 185 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 185
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นหน่วยงานหลัก ประชาชนจากที่ดินซึ่งอยู่อาศัยและท�ากิน รวมถึงการจับกุม
ที่ได้รับมอบหมายตามค�าสั่งรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ และด�าเนินคดีแก่ประชาชนในฐานะผู้บุกรุกที่ดินของรัฐ 1
เครืองาม) สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี โดยได้ ประเด็นข้อขัดแย้งดังกล่าวท�าให้เกิดกรณีพิพาทระหว่างรัฐ
พิจารณาศึกษาแนวทาง ความเหมาะสมของข้อเสนอแนะ กับประชาชนมาอย่างยาวนาน แม้ว่าจะมีกระบวนการ 2
รวมถึงมาตรการในการแก้ไขปัญหา จากการประชุม เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวแล้วก็ตาม แต่ข้อเท็จจริง พบว่า
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การออก นสล. ยังคงมีปัญหาและหน่วยงานภาครัฐ 3
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชนผู้ที่ได้รับ
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ความเดือดร้อนจากการถูกกระทบสิทธิในการมีที่อยู่อาศัย
และส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ อย่างเพียงพอและสิทธิในการท�ากินเพื่อการครองชีพ 4
สังคมแห่งชาติ ดังมีประเด็นโดยสรุป คือ (๑) ในระหว่าง เพียงเท่าที่จ�าเป็นอันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ได้
การด�าเนินการเจ้าหน้าที่จะไม่ด�าเนินการตามกฎหมาย กสม. จึงเห็นควรให้มีการพิจารณาศึกษา รวบรวมข้อเท็จจริง 5
กับราษฎร เว้นแต่มีการบุกรุกขยายพื้นที่เพิ่มเติม หรือ และวิเคราะห์กรณีการออก นสล. ทับที่อยู่อาศัยและ
กระท�าผิดกฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ หรือเป็นผู้บุกรุกใหม่ ที่ดินท�ากินของประชาชน เพื่อส่งเสริมและคุ้มครอง
ภายหลังค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๖/๒๕๕๗ (๒) ในขั้นตอน สิทธิมนุษยชน โดยเสนอแนะว่าหน่วยงานภาครัฐควร
การประกาศพื้นที่อุทยานแห่งชาติหรือป่าสงวนแห่งชาติ ให้ความส�าคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่
เห็นควรเพิ่มผู้แทนวัฒนธรรมจังหวัด ในคณะกรรมการหรือ ทั้งในกระบวนการส�ารวจตรวจสอบแนวเขต การดูแลรักษา
กลไกในระดับจังหวัด (ระดับพื้นที่) และก�าหนดให้ใช้การจัดการ ที่สาธารณประโยชน์ รวมถึงหากมีกรณีพิพาทระหว่าง
พื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม (Joint Management หน่วยงานรัฐกับประชาชน หน่วยงานรัฐควรด�าเนินการ
of Protected Area : JoMPA) ให้คณะกรรมการที่ปรึกษา ตามมาตรการทางปกครองกับประชาชนโดยต้องเป็นการ
พื้นที่คุ้มครอง (Protected Area Committee : PAC) ด�าเนินการอย่างเป็นธรรมไม่เลือกปฏิบัติและควรด�าเนิน
เป็นกลไกหนึ่งในการจัดการพื้นที่ป่าอนุรักษ์ทุกพื้นที่ มาตรการบังคับแก่ประชาชนอย่างรอบคอบเพื่อป้องกัน
โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ (๓) ให้กระทรวง การกระท�าที่อาจก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิของประชาชน
วัฒนธรรม (โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) รับไปพิจารณา
ด�าเนินการตามข้อเสนอแนะในการจัดท�าข้อมูลพื้นฐาน ทั้งนี้ ข้อเสนอแนะบางส่วนได้มีการรับฟังความคิดเห็น
ของกลุ่มชาติพันธุ์ และการก�าหนดตัวชี้วัดเพื่อติดตาม ขององค์กรภาคประชาสังคมร่วมด้วย และปัจจุบัน
ประเมินผล รวมทั้งขอให้น�ามติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓ คณะรัฐมนตรีได้รับข้อเสนอแนะทั้งสามเรื่องนี้ไปพิจารณา
สิงหาคม ๒๕๕๓ เรื่อง แนวนโยบายและหลักปฏิบัติในการ และเตรียมพร้อมในการแก้ไขปัญหาเป็นการแสดงถึง ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
ฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง มาพิจารณาประกอบการจัดท�า ความร่วมมือระหว่างสถาบันสิทธิมนุษยชน รัฐบาล และ
ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและคุ้มครองวิถีชีวิตของ องค์กรภาคประชาสังคม ในการที่จะมุ่งแก้ไขปัญหา
กลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง พ.ศ. .... ด้วย ด้านสิทธิในที่ดินและป่าไม้ของประเทศไทย
๔) ข้อเสนอแนะ ที่ ๔/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๓ มิถุนายน ผลการด�าเนินการ ส�าหรับข้อเสนอแนะเรื่องนี้ได้ส่งไปยัง
๒๕๖๑ เพื่อแก้ไขปัญหาการออกหนังสือสำาคัญ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ต่อมากรมส่งเสริม
สำาหรับที่หลวง (นสล.) ทับที่อยู่อาศัยและที่ดินทำากิน การปกครองท้องถิ่น ได้มีหนังสือที่ มท ๐๘๐๔.๕/ว๓๔๙๒
ของประชาชน ลงวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๑ ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด
สืบเนื่องมาจาก กสม. เห็นปัญหาเกี่ยวกับที่ดินอันเป็น ทุกจังหวัด แจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน�าข้อเสนอแนะ
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติส่วนกลาง ดังกล่าวไปใช้ประกอบการพิจารณาด�าเนินการตามอ�านาจ
ส�าหรับใช้เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือสงวนไว้เพื่อใช้ หน้าที่ในการดูแลรักษาและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็น
ประโยชน์ร่วมกัน จึงมีกฎหมายบัญญัติให้ความคุ้มครอง สาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน
ป้องกันและก�าหนดโทษแก่ผู้บุกรุกที่ดินสาธารณประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องต่อไป
ท�าให้เกิดปัญหากับประชาชนในพื้นที่ด้วยการขับไล่
183