Page 191 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 191

จ�าเป็นเร่งด่วน รวมทั้งติดตามการปฏิบัติตามแผนงานดัง ในการด�าเนินการด้านส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
              กล่าวอย่างใกล้ชิดจนกว่าโครงการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ   ในประเด็นดังกล่าว รวมทั้งอาจน�ามาสู่การก�าหนดแนวทาง  1
                                                               ในการให้ความช่วยเหลือและเยียวยาแก่ผู้ถูกละเมิด
                 (๓) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย และ สิทธิมนุษยชนในประเด็นนี้ โดยมีผลการศึกษาวิจัยที่ส�าคัญ   2
              บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอก โมโนเรล จ�ากัด ควรตรวจสอบ ได้แก่
              และแก้ไขจุดอันตรายและจุดเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ  •  ความสัมพันธ์ระหว่างสิทธิมนุษยชนและ      3
              บนท้องถนนตลอดแนวการก่อสร้างอย่างต่อเนื่อง เช่น          สิ่งแวดล้อมเพื่อการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

              การวางอุปกรณ์ เครื่องมือก่อสร้าง การปรับพื้นผิวจราจร    ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
              ที่ช�ารุด รวมถึงบริเวณที่เกิดปัญหาน�้าท่วมขังบนถนน   •  สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง (ปกาเกอญอ) กับ     4
              ในระหว่างการก่อสร้างตลอดแนวโครงการก่อสร้าง              การด�าเนินเขตวัฒนธรรมพิเศษไร่หมุนเวียน
              รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี หรือกิจกรรม          ในพื้นที่ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาข้อพิพาท     5
              อื่นใดที่ส่งผลกระทบต่อการสัญจร และหากพบปัญหา            กรณีที่ดินท�ากิน  และที่อยู่อาศัยของชุมชน
              ต้องเร่งด�าเนินการแก้ไขโดยบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน       กะเหรี่ยงในพื้นที่ป่าภาคเหนือ
              ผู้รับผิดชอบ อาทิ กองบังคับการต�ารวจจราจร สถานี     •  ความเชื่อมโยงระหว่างสิทธิชุมชนกับทรัพยากร
              ต�ารวจนครบาลในเขตพื้นที่  ส�านักงานเขตในสังกัด          ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายใต้รัฐธรรมนูญ
              กรุงเทพมหานคร แขวงการทางของกรมทางหลวง และเขต            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐:

              เทศบาลของจังหวัดนนทบุรี เป็นต้น โดยการด�าเนินการ        องค์ความรู้และแนวปฏิบัติในการรับรอง
              ดังกล่าวต้องควบคู่ไปกับการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน       สิทธิชุมชน
              ได้รับทราบข้อมูลอย่างทั่วถึงและทันต่อสถานการณ์
              เพื่อประโยชน์ต่อการวางแผนการเดินทาง ในขณะเดียวกัน ๔.๒ ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน

              ควรเพิ่มช่องทางการสื่อสารแบบสองทาง (Two-ways
              Communication) เพื่อให้ประชาชนสามารถแจ้งเรื่อง      ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนอันเกิดจากการ
              ร้องเรียนหรือแจ้งเหตุกรณีประชาชนพบเห็นปัญหาหรือ ด�าเนินธุรกิจเป็นประเด็นส�าคัญที่ก�าลังได้รับความสนใจ

              ได้รับผลกระทบจากโครงการก่อสร้าง รวมถึงแจ้งเหตุกรณี จากประชาคมโลก ไม่เพียงการด�าเนินธุรกิจของบรรษัท
              ฉุกเฉินได้อย่างทันท่วงที                         ข้ามชาติที่ประกอบธุรกิจร่วมกับคู่ค้าและผู้ผลิตทั่วโลก
                                                               แต่รวมถึงบริษัทขนาดใหญ่และผู้ประกอบการรายย่อย
                 (๔) กระทรวงคมนาคม ควรมอบหมายให้หน่วยงาน  ภายในประเทศจะส่งผลอย่างมีนัยยะส�าคัญต่อเศรษฐกิจ         ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
              ในสังกัดน�าประเด็นปัญหาและข้อค้นพบจากการด�าเนิน สังคม และการพัฒนาประเทศ การประกอบธุรกิจโดยขาด
              โครงการสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะในระหว่างการ  ความรับผิดชอบและไม่ค�านึงถึงผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
              ก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน อาจน�ามาซึ่งการพัฒนาที่ขาดความยั่งยืน ส่งผลกระทบ
              และเกิดความล่าช้าในการก่อสร้าง ดังเช่นกรณีโครงการ หลายประการ อาทิ การค้าการลงทุนระหว่างประเทศ
              ก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพู ไปเป็นข้อมูลประกอบการ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ความเสมอภาคทางเพศ แรงงาน

              วางแผนหรือก�าหนดมาตรการป้องกันและบรรเทาปัญหา และการค้ามนุษย์ เป็นต้น สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              ให้แก่ประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการ  ตามปฏิญญาเอดินเบอระ (Edinburgh Declaration)
              ของรัฐในอนาคตต่อไป                               มีบทบาทส�าคัญอย่างยิ่งในการส่งเสริมการปฏิบัติตาม
                                                               หลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับ
                 นอกจากนี้ กสม. ชุดที่ ๓ ได้สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัย  สิทธิมนุษยชน (หลักการชี้แนะ UNGPs) ทั้งในระดับชาติ
              เกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรม   และระดับภูมิภาค กสม. ชุดที่ ๓ จึงให้ความส�าคัญ
              การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ต่อประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน  และด�าเนินการ

              สิ่งแวดล้อม รวมถึงที่ดินและป่าไม้ และสิทธิชุมชน  เพื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนการปฏิบัติตามหลักการ
              เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้และพัฒนาความเข้มแข็ง  ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง โดยมีการด�าเนินโครงการและ



                                                                                                                 189
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196