Page 190 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 190
ช่วงแคราย-มีนบุรี ณ เดือนกันยายน ๒๕๖๓ มีความ (๒) การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนของประชาชนเกี่ยวกับ
ก้าวหน้าภาพรวมร้อยละ ๖๔.๒๗ แบ่งเป็น ๑) งานก่อสร้าง ผลกระทบจากโครงการที่มีหลายหน่วยงาน เช่น การยุบตัว
งานโยธา (Civil Works): แผนงาน ร้อยละ ๔๕.๐๙ ของผิวจราจร ปัญหาน�้าท่วม และ (๓) การขาดแคลน
การด�าเนินการมีความก้าวหน้า ร้อยละ ๖๔.๘๕ และ บุคลากรในการปฏิบัติงานเพื่อบรรเทาปัญหาการจราจร
๒) งานระบบรถไฟฟ้า (M&E System Works): แผนงาน ในช่วงก่อสร้างของหน่วยงาน
ร้อยละ ๕๓.๔๑ การด�าเนินการมีความก้าวหน้า ร้อยละ
๕๙.๗๑ โดยพบปัญหาและอุปสรรคส�าคัญในช่วงที่ผ่านมา คือ ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน
๑) ผลกระทบด้านการจราจรที่เกิดขึ้นจากโครงการ กสม. เห็นควรมีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทาง
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
ก่อสร้างที่ต้องปิดช่องจราจรบางส่วนตลอดแนวโครงการฯ ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ต่อการรถไฟฟ้า
หรือการปิดจราจรในบางเส้นทางในบางช่วงเวลา ได้เกิด ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย บริษัท นอร์ทเทิร์น
ผลกระทบต่อการสัญจรของประชาชน ได้แก่ ความล่าช้า บางกอก โมโนเรล จ�ากัด ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ และ
ในการรื้อย้ายสาธารณูปโภค อาทิ สายไฟฟ้า สายสื่อสาร กระทรวงคมนาคม ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
และท่อน�้าประปาในบริเวณการก่อสร้างสถานีหลายจุด พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๘ (๓) และ พ.ร.ป. กสม.
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
และปัญหาการส่งมอบพื้นที่เพื่อด�าเนินการก่อสร้างในบางจุด ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๓) ประกอบมาตรา ๔๒ ดังนี้
ซึ่งขณะนี้ได้มีการแก้ไขปัญหาเรียบร้อยแล้ว รวมถึง
การย้ายต�าแหน่งสถานีใน ๒ จุด คือ บริเวณศูนย์ราชการ (๑) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
จังหวัดนนทบุรีและสถานีนพรัตน์ ท�าให้ต้องจัดท�ารายงาน ในฐานะหน่วยงานเจ้าของโครงการต้องติดตามการท�างาน
EIA ใหม่ สืบเนื่องจากปัญหาและอุปสรรคดังที่กล่าวมานั้น ของบริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จ�ากัด อย่างใกล้ชิด
เป็นผลให้เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ที่ประชุม เพื่อให้ด�าเนินการก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนงานที่ก�าหนด
คณะกรรมการการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย โดยเคร่งครัด เนื่องจากได้มีการขยายเวลาการก่อสร้างจาก
ได้พิจารณาข้อเสนอเรื่องการขอขยายระยะเวลาการก่อสร้าง ก�าหนดเดิมออกไปอีก ๑ ปี เพื่ออ�านวยความสะดวกให้แก่
ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยกับเอกชน ประชาชนที่ใช้การสัญจรผ่านเส้นทางก่อสร้าง โดยเฉพาะ
ผู้รับสัมปทาน และมีมติอนุมัติขยายระยะเวลาก่อสร้าง การเร่งคืนพื้นผิวการจราจร และการก�ากับดูแลด้าน
รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี ออกไปอีก ๓๖๕ วัน ความปลอดภัยตามมาตรฐานสากลเป็นส�าคัญ โดยไม่ให้
หรือ ๑ ปี จากเดิมก�าหนดก่อสร้างจะแล้วเสร็จในเดือน การด�าเนินโครงการก่อให้เกิดความเสียหายและเป็น
ตุลาคม ๒๕๖๔ เป็นเดือนตุลาคม ๒๕๖๕ นอกจากนั้น อันตรายต่อประชาชน ผู้ปฏิบัติงาน และผู้เดินทางสัญจร
ในช่วงต้นปี ๒๕๖๓ ได้เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาด อันสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ พฤษภาคม
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ท�าให้ ๒๕๖๐ ทั้งนี้ เพื่อให้สามารถเปิดการเดินรถระยะที่ ๑
การก่อสร้างได้รับผลกระทบด้วย เช่น การขาดแคลน (สถานีมีนบุรี-สถานีเซ็นทรัล รามอินทรา) ภายใน
แรงงานบางส่วน และการชะลอการรื้อย้ายสาธารณูปโภค เดือนตุลาคม ๒๕๖๔ และเดินรถตลอดเส้นทางภายใน
โดยหน่วยงานภาครัฐอันเนื่องมาจากนโยบายการท�างาน เดือนตุลาคม ๒๕๖๕ ตามที่การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
ที่บ้าน (Work from home) เป็นต้น แห่งประเทศไทยได้ก�าหนดแผนการเดินรถไว้
๒) ปัญหา อุปสรรคและข้อจ�ากัดในการด�าเนินการ (๒) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
ของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้าง ได้แก่ และบริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอก โมโนเรล จ�ากัด
ปัญหาความล่าช้าในการรื้อย้ายสาธารณูปโภคและการขอใช้ ควรปรึกษาหารือร่วมกับส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ เพื่อหา
พื้นที่ของหน่วยงานรัฐบริเวณการก่อสร้าง เช่น (๑) การรื้อ แนวทางการเพิ่มก�าลังพลหรือบุคลากรช่วยอ�านวยการ
ย้ายสายไฟฟ้า ท่อน�้าประปา สายสื่อสารและปัญหา จราจร รวมทั้งจัดท�าแผน มาตรการหรือแผนงานด้านการ
การเจรจาขอใช้พื้นที่ของกรมทางหลวงบริเวณสถานี จัดการจราจรตลอดแนวการก่อสร้าง รองรับสภาพ
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ท�าให้มีการส่งมอบพื้นที่ล่าช้า ปัญหาในชั่วโมงเร่งด่วน และในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือ
188