Page 187 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 187

กสม. พิจารณาแล้วเห็นว่า การขับเคลื่อนนโยบาย มาตรา ๓๗ และมาตรา ๔๓ แห่งร่างพระราชบัญญัตินี้
              พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ปัจจุบัน มีลักษณะเป็นการเปิดช่องในการโอนอ�านาจตามกฎหมายอื่น     1
              มีกลไกพิเศษซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการ เพิ่มเติม และมีอ�านาจในการเปลี่ยนแปลงแก้ไข หรือ
              ด�าเนินงานได้ อาทิ ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๒/๒๕๖๐ เรื่อง  เพิ่มเติมหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการอนุมัติ อนุญาต    2
              การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่   ซึ่งอาจจะขัดหรือแย้งกับความเห็นขององค์กรตามกฎหมาย
              ๑๗ มกราคม ๒๕๖๐ ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๒๘/๒๕๖๐ เรื่อง   เฉพาะอันอาจเป็นการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่เท่าเทียมกัน   3
              มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ  ทั้งการใช้อ�านาจในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติม

              พิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐   หลักเกณฑ์ตามกฎหมายเฉพาะ ซึ่งมีเจตนารมณ์ในการ
              ค�าสั่งหัวหน้า คสช. ที่ ๔๗/๒๕๖๐ เรื่อง ข้อก�าหนดการใช้ คุ้มครองความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของประชาชน   4
              ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก   จะต้องค�านึงถึงหลักนิติธรรม และจะต้องมีกลไกควบคุม
              ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๐ กฎหมายว่าด้วยการ นิคม การใช้ดุลพินิจในการด�าเนินการตามบทบัญญัติดังกล่าว      5
              อุตสาหกรรม กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน   รวมทั้งจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมและ
              กฎหมายว่าด้วยการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการภาครัฐ  มีกลไกการตรวจสอบเพื่อคุ้มครองต่อประโยชน์สาธารณะ
              ซึ่งสามารถช่วยขับเคลื่อนและสนับสนุนการพัฒนาระเบียง
              เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกไปได้ ไม่ว่าจะเป็นทั้งด้าน  ประเด็นที่ ๓ การจัดท�าผังเมือง เห็นว่าการเร่งรัด
              การพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการ การด�าเนินการเพื่อจัดท�าแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน

              พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน หากจ�าเป็นที่จะต้องมีการตรา ดังกล่าวโดยยกเว้นการบังคับใช้กฎหมายผังเมือง อาจกระทบ
              พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ....  ต่อหลักการที่ก�าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
              คงมีปัญหาข้อควรพิจารณา ดังนี้                    พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๒ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
                                                               ในประเด็นความสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
                 ประเด็นที่ ๑ กระบวนการมีส่วนร่วมในการประเมินผล  และสิทธิในการพัฒนา ซึ่งรับรองสิทธิของบุคคลในการ
              กระทบของกฎหมาย เห็นว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  ได้รับการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม
              ได้ด�าเนินการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องรวม ๗ ครั้ง

              เป็นการรับฟังความคิดเห็นด้วยการจัดประชุมและ         ประเด็นที่ ๔ การใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
              มีหนังสือสอบถามความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๖ ครั้ง   เพื่อเกษตรกรรม เห็นว่า การที่ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
              อีก ๑ ครั้ง เป็นการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้เสีย  ได้ให้อ�านาจในการเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
              หรือผู้อาจได้รับผลกระทบจากกฎหมายผ่านระบบเทคโนโลยี  เพื่อเกษตรกรรม จึงอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคง     ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
              สารสนเทศของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย  ทางอาชีพและการด�ารงชีวิตของเกษตรกรผู้ที่ได้รับสิทธิ
              ซึ่งมีผู้ที่เข้ามาแสดงความคิดเห็นเพียง ๔ คนเท่านั้น   ในการใช้ประโยชน์ อันขัดต่อเจตนารมณ์ของกฎหมาย
              จึงมีข้อสังเกตว่าการเปิดให้รับฟังความคิดเห็นจาก  ว่าด้วยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และไม่สอดคล้อง
              ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้อาจได้รับผลกระทบจากกฎหมาย กับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
              ด้วยวิธีการดังกล่าวอาจจะไม่กว้างขวางเพียงพอที่จะให้  มาตรา ๗๒ (๑) และ (๒)

              ผู้อาจได้รับผลกระทบรับทราบข้อมูลเพื่อแสดงความคิดเห็น
              และไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ตามมาตรา ๔๓ ของ           กสม.  จึงเห็นควรมีข้อเสนอแนะต่อรัฐสภาและ
              รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐   คณะรัฐมนตรี ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
              ซึ่งให้การรับรองบุคคลและชุมชนในการมีส่วนร่วมในการ พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๔๗ (๓) ดังนี้
              จัดการ บ�ารุงรักษา และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
              สิ่งแวดล้อม                                         (๑) รัฐสภา ในชั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา
                                                               ร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ....

                 ประเด็นที่ ๒ หลักประกันด้านนิติธรรมในการคุ้มครองสิทธิ  และการพิจารณาวาระ ๒ และ ๓ ควรจัดให้มีการรับฟัง
              และเสรีภาพของประชาชน เห็นว่า การที่บทบัญญัติ ความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้อาจได้รับ



                                                                                                                 185
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192