Page 193 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 193

รูปธรรมถึงความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง  (๕) ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อการจัดท�าแผน NAP
              ในการส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามหลักการชี้แนะ UNGPs  ผลการสัมมนาวิชาการดังกล่าวได้น�าไปจัดท�าเป็น     1
              อันเป็นจุดเริ่มต้นของการน�าหลักการชี้แนะ UNGPs   ข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลไทยเพื่อให้หน่วยงานรัฐที่เป็น
              มาสร้างความตระหนักให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และทุกภาค เจ้าภาพหลักน�าไปใช้ประกอบในการจัดท�าแผน NAP          2
              ส่วนของประเทศไทยเห็นความส�าคัญของหลักการชี้แนะ  ต่อไป
              UNGPs                                                                                                3
                                                                  ๑.๔) การเสวนาวิชาการเรื่อง“การด�าเนินการตาม
                 ในการนี้ Mr. Michael Addo ประธานคณะท�างาน ฯ   หลักการชี้แนะของสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจและ

              ได้แสดงความชื่นชมกระบวนการเตรียมการเพื่อจัดท�า  สิทธิมนุษยชน : กรณีศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการเยียวยา  4
              แผนปฏิบัติการแห่งชาติด้านธุรกิจและสิทธิมนุษยชน   และระงับข้อพิพาทโดยภาคธุรกิจไทย” (Implementing
              (National Action Plan on Business and Human  the UNGP : Good Practices on Remediation and            5
              Rights : NAP) ของประเทศไทยว่าน่าสนใจ เนื่องจาก กสม.   Conflict Resolution by Thai Businesses) เมื่อวันที่
              เป็นคนกลางในการสนับสนุนให้เกิดกระบวนการในการจัดท�า  ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ณ กรุงเทพมหานคร เป็นการอภิปราย
              แผน NAP ร่วมกับภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน   โดย กสม. กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ สมาคมเครือข่าย
              และภาคประชาสังคม ขณะที่ Mr. Dante Pesce สมาชิก  โกลบอลคอมแพ็กประเทศไทย ผู้แทนคณะนิติศาสตร์
              คณะท�างานฯ กล่าวว่า การที่นายกรัฐมนตรีของไทยได้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ

              แสดงเจตจ�านงทางการเมือง (political will) จะสนับสนุน  ในประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการเยียวยา และการระงับ
              ให้มีการจัดท�าแผน NAP และเป็นประจักษ์พยานในการลงนาม  ข้อพิพาทในด้านสิทธิมนุษยชนของการประกอบกิจกรรม
              ปฏิญญาร่วมกันระหว่าง กสม. และหน่วยงานของรัฐ   ทางธุรกิจ และการได้มาซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีในการเยียวยาและ
              รวมทั้งภาคเอกชน จะท�าให้เห็นแนวทางในการท�างาน  การระงับข้อพิพาทอันน�าไปสู่การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
              เพื่อจัดท�าแผน NAP ที่ชัดเจนและสอดประสานกันได้ดี และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ รวมทั้งหารือกับทุกภาคส่วน
              ยิ่งขึ้น                                         ที่เกี่ยวข้อง การเสวนาดังกล่าวได้เผยแพร่แนวคิดเกี่ยวกับ
                                                               การเข้าถึงกระบวนการเยียวยา (Access to Remedy)

                 ๑.๓) การสัมมนาวิชาการเรื่อง “การเผยแพร่และ ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการส�าคัญของเอกสารหลักการชี้แนะ
              การขับเคลื่อนหลักการชี้แนะธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน UNGPs
              ของสหประชาชาติในประเทศไทยต่อภาคประชาสังคม”
              เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๐ ณ กรุงเทพมหานคร         ๑.๕) การสัมมนาวิชาการเรื่อง “Leading by         ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
              เพื่อเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจในประเด็นธุรกิจ  Example : รัฐวิสาหกิจไทยสู่ต้นแบบ การท�าธุรกิจ
              กับสิทธิมนุษยชน  และรับฟังความคิดเห็นจากภาค  ที่เคารพสิทธิมนุษยชน” เมื่อวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๑
              ประชาสังคมในการน�าหลักการชี้แนะ UNGPs มาใช้กับ ณ กรุงเทพมหานคร เป็นการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
              บริบทสถานการณ์ของประเทศไทยเกี่ยวกับผลกระทบ  ด้านสิทธิมนุษยชนในการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ
              ที่เกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้นจากการประกอบกิจกรรมทาง ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชนอันเป็นอ�านวยการไปสู่

              ธุรกิจใน ๕ ประเด็น ประกอบด้วย (๑) บทบาทภาครัฐ  การพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้หลักการชี้แนะ UNGPs ให้กับ
              ในการคุ้มครองมิให้ภาคธุรกิจละเมิดสิทธิมนุษยชน   หน่วยงานรัฐวิสาหกิจของไทย การสัมมนาประกอบด้วย
              (๒) กลไกการป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชนของภาค การปาฐกถาพิเศษโดยพลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง
              ธุรกิจในการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ (๓) “กลไก” หรือ   รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการยุติธรรม
              “กระบวนการ/มาตรการ/แนวปฏิบัติ”  ของภาครัฐ  Mr. Dante Pesce คณะท�างานว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
              ในการเยียวยาความเสียหายที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ กับบรรษัทข้ามชาติและการประกอบธุรกิจอื่น ๆ ของ
              ให้กับผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน  สหประชาชาติ การน�าเสนอผลการด�าเนินการและแนวทาง

              จากกิจกรรมด้านธุรกิจ (๔) “กลไก” หรือ “กระบวนการ/ กิจกรรมที่จะช่วยส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
              มาตรการ/แนวปฏิบัติ” ของภาคธุรกิจในการเยียวยา  ของรัฐวิสาหกิจ
              ความเสียหายที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  และ

                                                                                                                 191
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198