Page 182 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 182
เป็นที่สาธารณะ ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนกลางส�าหรับใช้ (Common property) ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือสงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ในพื้นที่ป่าไม้โดยไม่ต้องออกเอกสารสิทธิ
กสม. พบว่ามีปัญหาแนวเขตไม่ชัดเจน เนื่องจากการสงวน
หวงห้ามในอดีตก�าหนดแต่เพียงแนวเขตคร่าว ๆ ไม่มี ผลการด�าเนินการ พบว่าไม่ได้รับการตอบรับ
การรังวัดพื้นที่และจัดท�าแผนที่ไว้ ที่ดีจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่าใดนัก กล่าวคือ
รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) สั่งและปฏิบัติการ
ในระหว่างปี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๑ กสม. ชุดที่ ๓ ได้จัดท�า แทนนายกรัฐมนตรี มีค�าสั่งมอบหมายให้กระทรวง
ข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริมและ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานหลัก
คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการแก้ไขปรับปรุง ในการน�าข้อเสนอแนะของ กสม. ไปพิจารณาร่วมกับ
รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
กฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือค�าสั่งให้สอดคล้องกับ กระทรวงกลาโหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
หลักสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ ตามหน้าที่และอ�านาจที่รับรองไว้ มหาดไทย ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ส�านักงาน
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ คณะกรรมการกฤษฎีกา กองอ�านวยการรักษาความมั่นคง
มาตรา ๒๔๗ (๓) และ พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๖ (๓) ภายในราชอาณาจักรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จากนั้น
ดังนี้ ส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้มีหนังสือลงวันที่
สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ แจ้งว่า คณะรัฐมนตรีรับทราบสรุปผล
๑) ข้อเสนอแนะ ที่ ๑/๒๕๖๐ เพื่อแก้ไขปัญหา การพิจารณาและผลการด�าเนินการต่อข้อเสนอแนะ
เขตป่าสงวนแห่งชาติและเขตอุทยานแห่งชาติกับ ดังกล่าวของ กสม. ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
ที่ดินเอกชนทับซ้อนกัน และกรณีราษฎรได้รับความ และสิ่งแวดล้อมเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรีแล้ว
เดือดร้อนจากมาตรการทวงคืนผืนป่า ตามคำาสั่ง โดยไม่ได้พิจารณาผลสรุปของกระทรวงดังกล่าวว่า
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๖๔/๒๕๕๗ ลงวันที่ ได้ด�าเนินการให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของ กสม.
๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๗ และที่ ๖๖/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๗ อย่างเหมาะสมแล้วหรือไม่ หรือมีความจ�าเป็นที่ไม่อาจ
มิถุนายน ๒๕๕๗ ด�าเนินการได้ หรือต้องใช้ระยะเวลาในการด�าเนินการ
เป็นเรื่องเกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหาพื้นที่ทับซ้อน อย่างใด ๆ ซึ่งไม่เป็นไปตามบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
กรณีราษฎรจากหลายพื้นที่กล่าวอ้างว่าพื้นที่ป่าไม้ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา
ตามกฎหมาย พื้นที่อนุรักษ์ และที่ดินที่ประชาชนถือครอง ๒๔๗ วรรคสอง เมื่อวันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๑ กสม.
ทับซ้อนกัน และกล่าวอ้างว่ามีการจับกุมด�าเนินคดีและ จึงได้มีหนังสือขอให้คณะรัฐมนตรีทบทวนมติเมื่อวันที่
การขับไล่ราษฎรโดยไม่ได้มีการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเบื้องต้น ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๐ และพิจารณาการด�าเนินการตาม
ซึ่ง กสม. เสนอให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ ข้อเสนอแนะ ที่ ๑/๒๕๖๐ ของ กสม. ให้เป็นไปตาม
ให้ก�าหนดพื้นที่ป่าตามสภาพความเป็นจริง แก้ไขกฎหมาย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ปิดปากในพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๗ มาตรา ๒๔๗ วรรคสอง
เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิน�าพยานหลักฐานพิสูจน์ว่า
ถือครองพื้นที่ก่อนก�าหนดเขตพื้นที่อนุรักษ์ และมิได้ อย่างไรก็ตาม กสม. ก็ยังไม่ได้รับแจ้งผลการด�าเนินการ
บุกรุกพื้นที่ และแก้ไขพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ จากคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีมิได้แจ้งผลการด�าเนินการ
พ.ศ. ๒๕๐๔ และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และไม่ได้แจ้งเหตุผลใด ๆ ภายในเวลาอันสมควร กสม.
พ.ศ. ๒๕๓๕ ให้มีบทบัญญัติที่สามารถน�าพยานหลักฐาน ในคราวประชุมด้านการคุ้มครองและมาตรฐานการ
มาพิสูจน์การถือครองพื้นที่ได้เช่นเดียวกัน รวมถึง คุ้มครองสิทธิมนุษยชน ครั้งที่ ๓๘/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๔
เสนอแนะให้ภาครัฐพิสูจน์สิทธิในที่ดินตามเกณฑ์ที่เป็น พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เห็นชอบให้เผยแพร่ข้อเสนอแนะ
มาตรฐานเดียวกันก่อนไล่รื้อและด�าเนินคดีอาญา และควร ที่ ๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๐ ต่อสื่อมวลชน
สนับสนุนสิทธิเชิงกลุ่ม (Collective Right) กรรมสิทธิ์ร่วม ทางเว็บไซต์ และสื่อสาธารณะอื่น ๆ ของ ส�านักงาน กสม.
ต่อไป
180