Page 181 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 181
กสม. ชุดที่ ๓ ได้ปฏิบัติหน้าที่โดยมุ่งหมายที่จะ และรัฐท�าการตรวจสอบการถือครองที่ดินของประชาชน
ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นระบบ จึงพบว่ามีประชาชนที่ถือครองที่ดินของรัฐโดยไม่มีเอกสาร 1
ให้ความส�าคัญในการด�าเนินงานด้วยการประสานและ สิทธิและไม่รับอนุญาตตามกฎหมาย เพื่อใช้ท�าการเกษตร
แสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน และสร้างที่อยู่อาศัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ดินที่เป็นพื้นที่ป่าไม้ 2
และภาคประชาชน ตลอดระยะเวลาการด�ารงต�าแหน่ง หรือพื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย และที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติ
ได้ก�าหนดประเด็นส�าคัญหรือพื้นที่ส�าคัญในการปฏิบัติงาน ของแผ่นดิน รัฐจึงมีนโยบายทวงคืนที่ดินให้กลับมาอยู่ 3
ประจ�าปีด้านสิทธิมนุษยชน ส�าหรับเป็นกรอบการด�าเนินงาน ในความดูแลของรัฐ โดยไล่รื้อและด�าเนินคดีอาญากับ
ในปีนั้นไว้ในแผนปฏิบัติงานประจ�าปีงบประมาณ ประกอบด้วย ผู้ครอบครองที่ดินที่ถูกก�าหนดให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์และ
๑) การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน ป่าไม้ สิทธิชุมชน ที่ดินที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ท�าให้เกิดข้อพิพาท 4
๒) ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน ๓) การปฏิบัติที่เป็นธรรม กับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่ภาครัฐด�าเนินการ
ต่อกลุ่มเสี่ยง ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ สตรี ตามมาตรการทวงคืนผืนป่าตามค�าสั่ง คสช. ที่ ๖๔/๒๕๕๗ 5
๔) สิทธิในกระบวนการยุติธรรม ๕) สถานการณ์ความไม่สงบ ลงวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๗ และที่ ๖๖/๒๕๕๗ ลงวันที่
ในจังหวัดชายแดนใต้ ๖) ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน ๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ มีประชาชนหลายพื้นที่ร้องเรียน
ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยมักอ้างว่าถูกภาครัฐขับไล่ให้ออกจากที่ดินซึ่งตนครอบ
(Covid-19) และ ๗) เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ครองท�าประโยชน์เป็นเวลานาน ซึ่งสามารถจ�าแนกปัญหา
การพูด การโฆษณา และเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ ที่ดินทับซ้อนที่มีการร้องเรียนได้เป็น ๓ กลุ่มหลัก ได้แก่
ในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมือง รวมทั้งได้จัดท�าและเผยแพร่ กลุ่มปัญหาที่ดินท�ากินทับซ้อนกับเขตป่าไม้ตามกฎหมาย
ข้อเสนอแนะบางกรณีที่ส�าคัญ อันอาจน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลง และพื้นที่อนุรักษ์ กลุ่มปัญหาที่ดินของชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์
ในระดับนโยบาย หรือการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย (Ethnic and Local Traditional Group) และกลุ่มปัญหา
ให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ตลอดจนเพื่อเป็น การครอบครองที่สาธารณสมบัติของแผ่นดิน
การส่งเสริม การป้องกันและแก้ปัญหาด้านสิทธิมนุษยชน
ในประเทศไทย จากการตรวจสอบพบว่า ปัญหาในพื้นที่ป่าไม้และ
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมาย ทั้งในส่วนที่ทับซ้อนกับพื้นที่ท�ากิน
๔.๑ การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ และในส่วนที่เป็นที่ดินของชุมชนชาติพันธุ์ มีสาเหตุหลัก
ที่ดิน ป่าไม้ สิทธิชุมชน มาจากกฎหมายภายในของประเทศไทยก�าหนดให้ที่ดิน
ที่ไม่มีเอกชนได้กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองตาม
ประกอบด้วยการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ประมวลกฎหมายที่ดินเป็น “ป่าไม้” ทั้งหมด โดยไม่ได้ ผลการดำาเนินงานที่สำาคัญ
เป็นธรรม รวมถึงทรัพยากรที่ดิน ป่าไม้ การมีส่วนร่วม พิจารณาสภาพความเป็นจริงของที่ดิน นอกจากนั้น
ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ บทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งมีโทษ
สิทธิชุมชน ทางอาญา ยังมี “ข้อกฎหมายปิดปาก” ที่ไม่ยอมให้น�า
พยานหลักฐานพิสูจน์ข้อเท็จจริงในชั้นศาลว่า ประชาชน
๔.๑.๑ การจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ที่ถือครองที่ดินอยู่มาก่อนการประกาศเขตป่าและไม่ได้
อย่างเป็นธรรม การมีส่วนร่วมในการจัดการ บุกรุกที่ดินของรัฐ โดยก�าหนดว่า กรณีประชาชนถือครอง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึง ที่ดินมาก่อนการก�าหนดเขตป่าไม้แต่ไม่แจ้งการถือครอง
ทรัพยากรที่ดิน ป่าไม้ ภายในก�าหนดระยะเวลา ให้ถือว่าประชาชนสละสิทธิ
กสม. ทุกชุดที่ผ่านมา ได้รับเรื่องร้องเรียนจ�านวนมาก ในที่ดินนั้น โดยไม่พิจารณาว่าประชาชนที่อยู่ในพื้นที่
เกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะที่ดิน ห่างไกล ซึ่งในอดีตการคมนาคมและการติดต่อสื่อสาร
และป่าไม้ ปัญหาส่วนหนึ่งอาจเนื่องจากในทางกฎหมาย ไม่สะดวก ไม่มีไฟฟ้า และประชาชนไม่รู้หนังสือหรือ
ที่ดินเป็นทรัพยากรของแผ่นดิน หรือของรัฐเป็นอันดับแรก รู้ภาษาราชการไทย โดยเฉพาะชุมชนชาติพันธุ์ที่อยู่ในป่า
โดยก�าหนดโทษอาญาส�าหรับผู้ใช้ที่ดินของรัฐโดยไม่ได้ จะทราบถึงการก�าหนดเขตดังกล่าวหรือไม่ จึงกระทบ
รับอนุญาต เมื่อที่ดินส่วนใหญ่ในประเทศเป็นของรัฐ ต่อสิทธิของประชาชน และในส่วนที่ดินที่สงวนหวงห้ามไว้
179