Page 122 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 122

ที่เป็นการสร้างสรรค์ และเป็นประโยชน์ร่วมกัน ภายใต้  ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อประเทศไทยในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
            การเคารพต่อข้อตกลงร่วมกันในการใช้น�้า ในกรณีที่  รวมทั้งประเทศไทยยังไม่ได้มีการเจรจาซื้อขายไฟฟ้า
            จะน�าน�้าจากแม่น�้าโขงมาใช้ภายในลุ่มน�้าหรือภายนอก จากโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบง
            ลุ่มน�้า จะต้องด�าเนินกระบวนการปรึกษาหารือล่วงหน้า
            (Procedures for Notification, Prior Consultation    ในระหว่างการตรวจสอบปรากฏข้อเท็จจริงว่า เมื่อวันที่
            and Agreement : PNPCA)                           ๘ มิถุนายน ๒๕๖๐ กลุ่มรักษ์เชียงของกับพวกรวม ๔ คน
                                                             ได้ยื่นฟ้องผู้ถูกร้อง และคณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติไทย
                เมื่อปี ๒๕๕๙ สปป.ลาว ก�าหนดให้มีโครงการไฟฟ้า เป็นคดีต่อศาลปกครองกลาง กรณีคดีพิพาทเกี่ยวกับ

            พลังน�้าเขื่อนปากแบง ในพื้นที่แขวงอุดมไซ สปป.ลาว   การที่หน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ห่างจากชายแดนไทยบริเวณแก่งผาได บ้านห้วยลึก   กระท�าการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย และละเลยต่อหน้าที่
            อ�าเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ประมาณ ๙๖ กิโลเมตร  ตามที่กฎหมายก�าหนดให้ต้องปฏิบัติ ซึ่งเป็นประเด็น
            โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า  ผู้ถูกร้อง  เกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วมและการรับรู้ข้อมูล
            ในฐานะส�านักเลขาธิการคณะกรรมการแม่น�้าโขง  อันเกี่ยวกับการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
            แห่งชาติไทยในขณะนั้นได้จัดให้มีการให้ข้อมูลโครงการ และสังคม โดยเฉพาะในประเด็นผลกระทบข้ามพรมแดน
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบง แก่ประชาชนในพื้นที่ซึ่ง  ของโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบง ซึ่งปัจจุบัน
            อยู่ติดกับแม่น�้าโขง จ�านวน ๔ ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่   อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด ตามค�าร้อง
            ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ณ วัดพระธาตุผาเงา อ�าเภอเชียงแสน  ที่ คส. ๓๓/๒๕๖๐ ซึ่งเป็นประเด็นเดียวกัน จากข้อเท็จจริง

            จังหวัดเชียงราย ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๐  ดังกล่าวเห็นว่าเป็นกรณีตามมาตรา ๓๙ (๑) ประกอบ
            ณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองคาย จังหวัดหนองคาย  มาตรา ๓๙ วรรคสอง แห่ง พ.ร.ป. กสม. ๒๕๖๐ ซึ่งบัญญัติ
            ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ อ�าเภอเมือง ให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสั่งยุติเรื่อง
            อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี และครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่   หากเป็นเรื่องที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาลหรือเรื่อง
            ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ อ�าเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย   ที่ศาลมีค�าพิพากษา ค�าสั่ง หรือค�าวินิจฉัยเสร็จเด็ดขาดแล้ว
            ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ผู้ถูกร้อง กรมประมง   เห็นควรยุติเรื่อง

            กรมเจ้าท่า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ส�านักงาน
            นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม          อย่างไรก็ตาม  เนื่องจากโครงการไฟฟ้าพลังน�้า
            และผู้แทนส�านักงาน กสม. รวมทั้งภาคประชาชนในพื้นที่  เขื่อนปากแบงเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์
            ๘ จังหวัดริมแม่น�้าโขง ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดเลย  จากแม่น�้าโขงซึ่งเป็นแม่น�้าระหว่างประเทศที่ไหลผ่าน
            จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดนครพนม จังหวัด ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
            มุกดาหาร จังหวัดอ�านาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี   ราชอาณาจักรไทย และประชาชนได้พึ่งพาอาศัยในการ
            โดยผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดงความคิดเห็นและ  ใช้ประโยชน์ร่วมกันทั้งการอุปโภค บริโภค การประมง
            ข้อห่วงกังวลในประเด็นต่าง ๆ เช่น ด้านการประมง   การชลประทาน เกษตรกรรม การใช้ประโยชน์จาก
            ด้านผลกระทบข้ามพรมแดน ด้านมาตรการการลด  ความหลากหลายทางชีวภาพ จนกลายเป็นส่วนหนึ่ง
            หรือบรรเทาผลกระทบจากการสร้างเขื่อน น�้าไหลย้อน ของการด�ารงชีพและวิถีชีวิตของบุคคลและชุมชนที่อาศัย

            กลับมาฝั่งไทย การสะสมของตะกอนและการพัดพา อยู่ริมแม่น�้าโขง แม่น�้าโขงจึงถือว่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติ
            ตะกอน การเปลี่ยนแปลงมิติด้านชีวภาพและระบบนิเวศ อันเป็นทรัพยากรร่วมของทุกคน หากมีการก่อสร้าง
            ในแม่น�้าโขง กระบวนการมีส่วนร่วม บทบาทและนโยบาย โครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบงในแม่น�้าโขง
            ของรัฐบาล เป็นต้น ปัจจุบันโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อน อาจส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศในแม่น�้าโขง การด�ารงชีพ
            ปากแบงยังไม่สามารถด�าเนินการได้เนื่องจากยังไม่ได้  วิถีชีวิต และการประกอบอาชีพประมง และเกษตรกรรม
            ข้อยุติ โดยเฉพาะในประเด็นน�้าไหลย้อนกลับมาฝั่งไทย   ของประชาชนชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่จังหวัด








       120
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127