Page 120 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 120

เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ส�านักงานอัยการ   ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
            สูงสุด แจ้งความเห็นว่า ๑) ควรน�ามาตรการชะลอการฟ้อง  (๑) คณะรัฐมนตรีควรปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม
            มาใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหาผู้ต้องขังล้นเรือนจ�า ๒) ระเบียบ พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ และพระราชบัญญัติ
            ส�านักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการด�าเนินคดีอาญาของ ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยแก้ไขบทบัญญัติ
            พนักงานอัยการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้วางระเบียบโดยเน้นการ  บางประการที่ไม่เหมาะสม ในส่วนของระบบการบริหาร
            ปล่อยตัวชั่วคราวเป็นหลัก ซึ่งพิจารณาพฤติกรรมของ  จัดการทรัพยากรปิโตรเลียมที่มีอยู่อย่างจ�ากัด รวมถึง
            ผู้ต้องหาและจ�าเลยมากกว่าหลักประกันอยู่แล้ว ส่วนของ  บทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการ

            การจัดท�าบันทึกรายละเอียดพฤติกรรมผู้ต้องหา  จัดการด้านสิ่งแวดล้อมและการดูแลผลกระทบที่เกิดขึ้น
            มีกฎหมายก�าหนดให้พนักงานสอบสวนสามารถกระท�า กับประชาชนที่ชัดเจน และควรตระหนักถึงสิทธิการมี
          รายงานผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ ๓
            ได้อยู่แล้ว ๓) การพิจารณาหลักประกันในการปล่อยตัว ส่วนร่วมและสิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและเร่งสร้าง
            ชั่วคราวโดยพิจารณาหลักประกันตามความร้ายแรงของ ความเข้าใจที่ตรงกันแก่ทุกฝ่ายด้วยการน�าเสนอข้อมูล
            ข้อหาเพื่อให้เกิดบรรทัดฐานเดียวกัน อีกทั้ง หากผู้ต้องหา  ข้อเท็จจริงอย่างรอบด้าน อีกทั้ง เปิดพื้นที่สาธารณะให้แก่
            ไม่สามารถหาหลักประกันได้ สามารถขอความช่วยเหลือจาก   ภาคประชาชนในการแสดงความคิดเห็น เพื่อเป็นแนวทาง
            พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ ๔) หลักเกณฑ์  การหาทางออกของปัญหาด้านพลังงานที่เป็นข้อตกลง
      สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ
            ในการสั่งไม่ให้ปล่อยชั่วคราวตามประมวลกฎหมาย  ร่วมกันของทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
            วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๘/๑ มีความเหมาะสมอยู่แล้ว

                                                                (๒) หากข้อเสนอในข้อ (๑) ไม่สามารถด�าเนินการได้
            กรณีที่ ๒ รายงานผลการพิจารณา ที่ ๑๗๑/๒๕๕๙  ควรพิจารณาถอนร่างพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ....
            เรื่อง ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมายและข้อเสนอแนะ ที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
            นโยบายการแก้ไขปัญหาการบริหารจัดการทรัพยากร ในขณะนั้น เพื่อน�ากลับมาทบทวนใหม่
            พลังงานของประเทศไทย
                ความเป็นมา                                      ข้อเสนอแนะนโยบาย
                กสม. ตระหนักถึงความส�าคัญของการบริหารจัดการ     (๑) คณะรัฐมนตรีควรพิจารณาน�าหลักปฏิบัติของ

            ทรัพยากรพลังงานปิโตรเลียม ซึ่งอาจส่งผลกระทบ  โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations
            ต่อการด�ารงชีวิตของประชาชนและอาจมีผลกระทบต่อ  Environment Program : UNEP) คือ หลัก Guidelines
            สิทธิมนุษยชนทั้งในเรื่องสิทธิในการจัดการทรัพยากร  for the Development of National Legislation on
            ธรรมชาติ สิทธิความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนตามกติกา  Access to Information, Public Participation and
            ICESCR ที่ประเทศไทยเป็นภาคี ประกอบกับการพิจารณา Access to Justice in Environmental Matters มาใช้
            ทบทวนแก้ไขพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔  ในการก�ากับดูแลภาคธุรกิจที่ได้รับสัมปทานจัดการพลังงาน
            และพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. ๒๕๑๔  ปิโตรเลียม ซึ่งการส�ารวจขุดเจาะพลังงานปิโตรเลียม
            ในขณะนั้นที่มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองความต้องการ  มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของชุมชน
            พลังงานที่เพิ่มขึ้นและเร่งการเปิดสัมปทานปิโตรเลียม  และควรพิจารณาให้ประเทศไทยเข้าไปเป็นภาคีของ
            รอบใหม่ ในขณะที่การบริหารจัดการทรัพยากรพลังงาน อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมสาธารณะ

            ของรัฐในภาพรวมนั้น ยังขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน  ในการตัดสินใจและการเข้าถึงความยุติธรรมในเรื่อง
            อันเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่ส�าคัญยิ่งในการขจัดความเหลื่อมล�้า  สิ่งแวดล้อม (The Convention on Access to Information,
            และสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อ  Public Participation in Decision-Making and Access
            การพัฒนาอย่างยั่งยืน และเห็นควรมีข้อเสนอในการปรับปรุง  to Justice in Environmental Matters 1998 ) หรือ
            กฎหมายและข้อเสนอแนะนโยบายต่อคณะรัฐมนตรีตาม Aarhus Convention ซึ่งอนุสัญญานี้จะว่าด้วยเรื่องสิทธิ
            มาตรา ๑๕ (๓) แห่ง พ.ร.บ. กสม. ๒๕๔๒ ดังนี้        ที่เกี่ยวกับการจัดการโครงการของรัฐที่มีผลกระทบ








       118
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125