Page 119 - รายงานผลการดำเนินงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ชุดที่ 3 (วันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 ถึง 25 พฤษภาคม 2564)
P. 119

เอกสารที่ศาลอนุมัติให้ประกันตัวมายังกรมคุ้มครอง  ดังกล่าวมาค�้าประกันได้อาจจะไม่ได้รับความช่วยเหลือ
              สิทธิและเสรีภาพจึงควรที่จะขยายการด�าเนินการเช่นนี้ ในการปล่อยตัวชั่วคราว โดยควรให้สามารถน�าบุคคลอื่น  1
              ในทุกศาลเพื่อที่จะท�าให้จ�าเลยได้เข้าถึงการประกันตัว  นอกเหนือจากบุคคลตามที่ก�าหนดไว้มาเป็นผู้ค�้าประกันได้
              ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น เป็นต้น                       และหากเป็นบุคคลที่ไม่สามารถหาผู้ค�้าประกันได้ ควรจะ  2
                                                               ก�าหนดให้คณะกรรมการกองทุนยุติธรรมสามารถพิจารณา
                 (๕) คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงยุติธรรม กรมคุม  ให้ความช่วยเหลือได้เป็นรายกรณี                         3
              ประพฤติ  ส�านักงานศาลยุติธรรม  และหน่วยงาน

              ที่เกี่ยวข้อง ควรพิจารณาร่วมกันในการวางระบบการใช้   (๓) คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงยุติธรรม กรมคุ้มครอง
              เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว ให้มีการบริหารจัดการ สิทธิและเสรีภาพ ส�านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และ   4
              ที่ไม่ติดขัดในกรณีที่ไม่สามารถจัดหาเครื่องมือประจ�าได้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมกันพิจารณาแก้ไขหลักเกณฑ์
              ทุกท้องที่ และต้องมีการวางแผนงานเพื่อให้สามารถใช้ได้ การเยียวยาแก่ผู้ถูกคุมขังเกินกว่าโทษตามค�าพิพากษา  5
              ครอบคลุมทั่วประเทศ และรัฐบาลต้องให้ความส�าคัญ  ในพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ และ
              ในการจัดสรรงบประมาณประจ�าอย่างต่อเนื่องทุกปี  ในระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์
              และโดยเฉพาะการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว  วิธีการ และเงื่อนไขในการช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
              กับการปล่อยตัวชั่วคราว ยังคงต้องพิจารณาจากพฤติกรรม หรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
              ของผู้ต้องหาหรือจ�าเลยเป็นส�าคัญ และหากกรณีที่ศาล พ.ศ. ๒๕๕๙ ให้รวมถึงจ�านวนเงินเยียวยาตามจ�านวนวัน

              ต้องการหลักประกันและจ�าเลยไม่มีหลักประกัน ควรจะใช้  ที่ถูกขังเกินค�าพิพากษา และการเยียวยาทางด้านจิตใจ
              เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวเป็นเงื่อนไขในการปล่อยตัว ทั้งนี้ ต้องไม่ค�านึงถึงฐานะของผู้ที่ถูกคุมขังเกินกว่าโทษ
                                                               ตามค�าพิพากษา
                 ข้อเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย
                 (๑) คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงยุติธรรม และหน่วยงาน   (๔) คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงยุติธรรม ควรหารือ
              ที่เกี่ยวข้อง ควรพิจารณาทบทวนแก้ไขประมวลกฎหมาย กับส�านักงานศาลยุติธรรม เพื่อที่จะพิจารณาทบทวน
              วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๐๘ และมาตรา ๑๐๘/๑  ข้อบังคับของประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ

              โดยในการวินิจฉัยค�าร้องขอให้ปล่อยตัวชั่วคราว ให้ถือเป็น และเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกัน
              หลักว่าผู้ต้องหาหรือจ�าเลยทุกคนพึงได้รับการปล่อยตัว  ในการปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในคดีอาญา
              ชั่วคราว เว้นแต่จะมีเหตุจ�าเป็น โดยพิจารณาจากเหตุ  พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๖ โดยก�าหนดให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจ
              เพียง ๓ ประการ คือ (๑) ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยจะหลบหนี  ในการพิจารณาปล่อยตัวชั่วคราวได้โดยมีประกันและ  ผลการดำาเนินงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
              (๒) ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน  จะมีหลักประกันหรือไม่ก็ได้
              (๓) ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยจะไปก่อเหตุอันตรายประการอื่น
              ทั้งนี้ เพื่อให้องค์กรที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ดุลพินิจในการ  ผลการด�าเนินการ
              ปล่อยตัวชั่วคราวได้มากยิ่งขึ้น                      ต่อมา เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ส�านัก
                                                               เลขาธิการคณะรัฐมนตรี แจ้งว่า รองนายกรัฐมนตรี

                 (๒) คณะรัฐมนตรี โดยกระทรวงยุติธรรม กรมคุ้มครอง  (นายวิษณุ เครืองาม) ได้สั่งและปฏิบัติราชการแทน
              สิทธิและเสรีภาพ ส�านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม และ นายกรัฐมนตรี มอบให้กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงาน
              หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรร่วมกันพิจารณาทบทวนแก้ไข หลักรับเรื่องนี้ไปพิจารณาร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการ
              พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตรา ๓๐   กฤษฎีกา ส�านักงานศาลยุติธรรม ส�านักงานอัยการสูงสุด
              วรรคสี่ ที่ก�าหนดให้การขอปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหา  ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ
              หรือจ�าเลยจะต้องน�าสามี ภริยา บุพการี ผู้สืบสันดาน   ศึกษาแนวทางและความเหมาะสม และจัดท�ารายงานผล
              ญาติใกล้ชิด ผู้บังคับบัญชา หรือนายจ้างมาเป็นผู้ค�้าประกัน การพิจารณาไปยังส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีภายใน

              ด้วย เนื่องจากผู้ต้องหาหรือจ�าเลยที่ไม่สามารถน�าบุคคล  ๓๐ วัน เพื่อน�าเสนอคณะรัฐมนตรี





                                                                                                                 117
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124