Page 37 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 37
๓๕
ÀÒ¾ÃÇÁ»ÃÐà´ç¹ÊÔ·¸Ôã¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ áÅзÃѾÂҡùíéÒ òó
ในการประชุมของกรอบความรวมมือตาง ๆ ที่ผานมา
ประเทศไทยไมไดรับขอเสนอแนะใด ๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการนํ้าที่เกี่ยวของกับการกอสรางเขื่อน
หรือฝายเพื่อการผลิตกระแสไฟฟา หรือเพื่อใชในการชลประทาน
หรือเพื่อใหการสนับสนุนตออุตสาหกรรม
การพัฒนาเหลานี้สามารถสงเสริมคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนใหดียิ่งขึ้น อีกทั้งชวยเพิ่มศักยภาพของประเทศไทย
ที่จะสามารถแขงขันกับประเทศอื่นไดทั้งในระดับภูมิภาค
และระดับสากล อยางไรก็ดี การบริหารจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติและนํ้านั้นยังอาจสามารถกอใหเกิดผลสะทอน
ในเชิงลบขึ้นได ดังการกอสรางเขื่อนขนาดใหญกวา ๔๐ แหง
ในชวงเวลา ๕๐ ปที่ผานมานั้นตองเผชิญหนากับการ
คัดคานอยางมีนัยสําคัญจากชุมชนทองถิ่น ทั้งนี้เปนเพราะ
วาการพัฒนาโครงการเขื่อนใหญ ๆ หลายแหงในหลายพื้นที่
นั้นไดกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศของพื้นที่ชุมนํ้า
ตลอดจนกระทบถึงชีวิตของผูคนในชุมชนทองถิ่นนั้น
ซึ่งตองพบกับภาวะการลดลงของรายได ความเสื่อมสลายไป
ของอาหารตามธรรมชาติ มีความไมมั่นคงทางดานอาหาร
เพิ่มมากขึ้น และนั่นเปนการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผูคน
ซึ่งมีชีวิตพึ่งพาอาศัยความอุดมสมบูรณของแหลง
ทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะที่โครงการกอสรางเขื่อน
แหงใหม ๆ นั้น สวนมากกําลังถูกระงับเอาไว
ทวาชุมชนที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจาก
โครงการนั้น ๆ ยังคงตอสูเพื่อใหโครงการกอสรางเขื่อน
เหลานั้นจะไดถูกยกเลิกไปอยางถาวร
เพื่อใหเกิดการฟนฟูวิถีชีวิตที่สูญหายกลับคืนขึ้นใหม
๒๓ ประมวลและสังเคราะหจาก (๑) การประเมินขอมูลพื้นฐานระดับชาติดานธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Baseline Assessment on Business and Human
Rights) : นโยบาย กฎหมาย และมาตรการที่เกี่ยวของกับการลงทุนของประเทศ (๒๕๖๓) (๒) ขอมูลจากโครงการศึกษาวิจัยเรื่อง “สิทธิชุมชนในการจัดสรรทรัพยากรนํ้า
โดยใชแนวทางสันติวิธี: กรณีศึกษาพื้นที่ตนนํ้าของประเทศ ไทย” (๒๕๖๔) และ (๓) การประชุมเพื่อติดตามการดําเนินการแผน NAP กับกลุมติดตามผลกระทบการพัฒนา
ขามพรมแดนป ๒๕๖๔