Page 22 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 22

๒๐





                                          ¢ŒÍàʹÍá¹Ð



           ๑. การแกไขพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยเฉพาะมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๙ และ มาตรา ๔๐ ใหมีเนื้อหา
             ของการคุมครองสิทธิอันเปนมาตรฐานเดียวกันโดยไมแบงแยก
           ๒. การแกไขบทบัญญัติของพระราชบัญญัติที่เกี่ยวของใหสอดคลองกับอนุสัญญาองคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO)
             ฉบับที่ ๘ และ ฉบับที่ ๙๘ และประกันวาในการแกไขหรือปรับปรุงกฎหมายตองผานการรับฟงความเห็นจากผูมีสวนไดสวนเสีย
             ในประเด็นนั้นอยางเครงครัด
           ๓. การปรับใหนโยบายดังกลาวเปนนโยบายถาวรที่สามารถเปดใชบริการไดตลอด มีการตรวจสอบและทบทวนมาตรการ
             โดยภาคประชาสังคม รวมทั้งควรขยายระบบใหครอบคลุมถึงการจดทะเบียนผูติดตาม
           ๔. การแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการทํางานของหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน
             กฎหมายวาดวยผูรับงานไปทําที่บานและกฎหมายอื่น
           ๕. การลงนามเปนภาคีในอนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิของแรงงานโยกยายถิ่นฐานและสมาชิก
           ๖. การแกไขมาตรา ๔ ประกอบกับมาตรา ๖ แหงพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคา มนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
             โดยเฉพาะการใหนิยามคําวา แสวงหาประโยชนโดยมิชอบ ใหเปนไปตามขอ 3 แหงพิธีสารเพื่อปองกันปราบปราม
             และลงโทษการคามนุษยโดยเฉพาะสตรีและเด็ก และเพิ่มบทบาทของผูตรวจสอบแรงงานในการระบุเหยื่อการคามนุษย
             และปองกันสภาวะการทํางานที่เอาเปรียบตามขอเสนอแนะของผูรายงานพิเศษดานการคามนุษยโดยเฉพาะอยางยิ่ง
             สตรีและเด็ก
           ๗. ตามขอสรุปเชิงเสนอแนะของอนุสัญญาระหวางประเทศวาดวย การขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ
             ถึงประเทศไทยป ๒๕๕๕ ขอที่ ๒๒ และผูรายงานพิเศษดานการคามนุษยโดยเฉพาะอยางยิ่งสตรีและเด็กกรณี
             ประเทศไทยป ๒๕๕๕ รัฐควรจัดกลไกเพิ่มเติมเพื่อปกปองแรงงานขามชาติและแกไขระบบยุติการจางงานเพื่อปองกัน
             การขมเหงโดยผูจางงาน
           ๘. ตามขอสรุปเชิงเสนอแนะของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนในกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
             ทางการเมืองถึงประเทศไทย ป ๒๕๔๘ รัฐควรพิจารณาการจัดตั้งกลไกที่ใชในการรับเรื่องรองเรียนและการเขาถึง
             ของแรงงานในประเด็นละเมิดสิทธิแรงงาน รวมถึงการยึดเอกสารสวนบุคคล
           ๙. แรงงานควรมีสิทธิเขาถึงบริการสังคม สถานศึกษาและเอกสารสวนบุคคลตามหลักการไมเลือกปฏิบัติ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27