Page 21 - เอกสาร/สื่อเผยแพร่และขับเคลื่อนพัฒนาจากรายงานการศึกษาวิจัยในประเด็น “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
P. 21

๑๙





                       »˜ÞËÒ/¢ŒÍ·ŒÒ·Ò                    ʶҹ¡Òó/¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§

               การขึ้นทะเบียนแรงงานขามชาติขอเท็จจริงปรากฏวา   แรงงานขามชาติในไทยยังคงเสียคาใชจายในการ
               การดำเนินการนโยบายดังกลาวเปนนโยบายยังไม  พิสูจนสัญชาติในอัตราที่สูงมากซึ่งราคาตามที่รัฐบาล
               ครอบคลุมทุกกลุมแรงงานและผูติดตาม มีการเก็บ  กำหนดแรงงานขามชาติสัญชาติเมียนมามีคาธรรมเนียม
               คาใชจายเกินกวาที่กฎหมายกำหนด โดยผานนายหนา  ๓,๕๕๐ บาท แตในความเปนจริงแรงงานเมียนมา
               ที่ผิดกฎหมาย                          มีคาใชจายถึง ๘,๐๐๐ - ๑๖,๐๐๐ บาทหรือมากกวานั้น



               กลไกติดตามการดำเนินงานของรัฐโดยการมีสวนรวม  รัฐบาลไมมีนโยบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตอแรงงาน
               ของแรงงาน ปจจุบันยังไมมีกลไกในการติดตามการ  ขามชาติที่เปนมาตรฐานเดียวกัน เชน แบบรับรอง
               ปฏิบัติงานในทุกระดับที่มีผลเปนการคุมครองสิทธิ  รายการทะเบียนประวัติของคนตางดาวที่ไดรับอนุญาต
               ของแรงงานและกำหนดหนาที่แกรัฐหรือนายจาง   ใหอยูในราชอาณาจักรเปนกรณีพิเศษ ท.ร.๓๘/๑
               โดยตัวแรงงานเองและองคกรภาคประชาสังคม จึง  ของแรงงานขามชาติที่ขึ้นทะเบียนตอหนวยงานของ
               ไมกอใหเกิดระบบการตรวจสอบถวงดุลที่ดีตลอดจน  กระทรวงมหาดไทย ไมสามารถใชเปนเอกสารยืนยัน
               เกิดการเลือกปฏิบัติตอกลุมแรงงานโดยการออกและ  สิทธิทางประกันสังคมของกระทรวงแรงงานได
               การบังคับใชกฎหมาย


               การเขาเปนภาคีในอนุสัญญาวาดวยการคุมครองสิทธิ  จากการทำงานรวมกันของเครือขายยังพบวาบุตรของ
               ของแรงงานโยกยายถิ่นฐานและสมาชิกในครอบครัว  แรงงานขามชาติยังไมสามารถเขาถึงสิทธิทางการศึกษา
                                                     และสุขภาพ รวมทั้งประเทศไทยไมมีนโนบายใหสิทธิ
                                                     แกผูติดตาม


               การคามนุษย แมประเทศไทยจะลงนามและเขาเปน  ยังพบปญหาการนำพาแรงงานขามชาติหลอกลวง
               ภาคีในอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อตอตานอาชญากรรม  ใหมาทำงานในประเทศไทย
               ขามชาติที่จัดตั้ง ในลักษณะองคกร (United
               Nations Convention against Transnational
               Organized Crime: UNTOC) และพิธีสารเพื่อปองกัน
               ปราบปรามและลงโทษ การคามนุษยโดยเฉพาะสตรี
               และเด็ก ที่บังคับใชเสริมอนุสัญญา (Protocol to
               Prevent, Suppress and Punish Trafficking in
               Persons, Especially Women and Children,
               supplementing the United Nations Convention
               against Transnational Organization Crime)
               แตการอนุวัติการโดยเฉพาะการกำหนดคำนิยาม
               การคามนุษยยัง ไมตรงกับขอ 3 แหงพิธีสารดังกลาว
               จึงกอใหเกิดปญหาในการตีความและการบังคับใช
               กฎหมายตามพระราชบัญญัติปองกันและ ปราบปราม
               การคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26