Page 28 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 28

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย



               มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด

                     ส 2.2 ม.4-6/1 วิเคราะหและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
              ประเทศชาติ และสังคมโลก

                     ส.2.2 ม.4-6/4 ประเมินสถานการณสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา



               จุดประสงค ผูเรียนสามารถ
                     1.   อธิบายปจจัยที่นําไปสูการเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนจากเหตุการณ ในสงครามโลก

              ครั้งที่ 2 ได
                     2.   วิเคราะหความสัมพันธระหวางเหตุการณในสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่สอดคลองกับสิทธิและหนาที่

              ตามปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนได



               ขั้นตอนการดําเนินกิจกรรม
                     ขั้นนําเขาสูกิจกรรม (10 นาที)

                     1.   ผูสอนตั้งคําถามกับผูเรียนกอนรับชมคลิปวีดิโอวา “ผูเรียนคิดวาจากเรื่องราวเหตุการณ
              ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ปรากฏในคลิปวีดิโอเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางไร”

                     2.   ผูเรียนรวมกันรับชมคลิปวีดิโอสวนหนึ่งของรายการพื้นที่ชีวิต ตอนชีวิต ความตาย ในคาย
              Auschwitz ที่ถายทอดเรื่องราวการฆาลางเผาพันธุชาวยิวในเหตุการณสงครามโลกครั้งที่ 2

                     3.   เมื่อผูเรียนรับชมคลิปวีดิโอจบแลว ผูสอนสุมผูเรียน 3 คนตอบคําถามในขอที่ 1 และใหเพื่อน
              ผูเรียนในชั้นเรียนรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือตอยอดประเด็นจากคําตอบของเพื่อน จากนั้นผูสอน

              จึงสรุปประเด็นที่ไดจากความคิดเห็นของผูเรียน และอธิบายเชื่อมโยงภาพเหตุการณในสงครามโลกครั้งที่ 2
              ไปสูความเปนมาของความรวมมือระหวางประเทศเพื่อรางปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนหลังสงครามโลก

              ครั้งที่ 2 จบลง เพื่อเชื่อมโยงเขาสูกิจกรรม




                                                                                             27
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33