Page 27 - คู่มือการจัดการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา : ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
P. 27

คูมือการจัดการเรียนรูสิทธิมนุษยชนศึกษา • ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย




              หนวยการเรียนรูที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และหลักการของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

                     กิจกรรมที่ 1 เรื่อง สงครามโลกครั้งที่ 2 กับการกําเนิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

              เวลา 1.5  ชั่วโมง

               แนวคิดสําคัญ

                     การเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 สงผลใหเกิดความสูญเสียครั้งยิ่งใหญของมนุษยชาติ นําไปสูการกอตั้ง

              องคการสหประชาชาติขึ้นในป ค.ศ.1945 และเกิดปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนที่ไดรับการรับรองโดยที่
              ประชุมสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ.1948 ภายใตหลักการสําคัญในการพิทักษ

              ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรม และโอกาสที่เทาเทียม โดยปราศจากการแบงแยก



               ปฏิญญาสากลวาสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของ
                     ขอ 1   มนุษยทั้งหลายเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในเกียรติศักดิ์และสิทธิ ตางมีเหตุผลและ

              มโนธรรม และควรปฏิบัติตอกันดวยเจตนารมณแหงภารดรภาพ
                     ขอ 2   (1) ทุกคนยอมมีสิทธิและอิสรภาพบรรดาที่กําหนดไวในปฏิญญานี้ โดยปราศจาก

              ความแตกตางไมวาชนิดใด ๆ ดังเชน เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา ศาสนา การคิดเห็นทางการเมืองหรือทางอื่น
              เผาพันธุแหงชาติ หรือสังคม ทรัพยสิน กําเนิด หรือสถานะอื่น ๆ

                            (2) อนึ่งจะไมมีความแตกตางใด ๆ ตามมูลฐานแหงสถานะทางการเมือง ทางการศาล
              หรือทางการระหวางประเทศของประเทศหรือดินแดนของบุคคลสังกัด ไมวาดินแดนนี้เปนเอกราช อยูใน

              ความพิทักษไมไดปกครองตนเอง หรืออยูภายใตการจํากัดอธิปไตยใด ๆ ทั้งสิ้น
                     ขอ 3   คนทุกคนมีสิทธิในการดํารงชีวิตเสรีภาพ และความมั่นคงแหงตัวตน









              26
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32