Page 81 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 81

กรอบการท�า HRDD      7









 บทบาทระดับพื้นที่ และระดับองค์กร     บริษัทควรศึกษาทำาความเข้าใจกับกลไกรับเรื่องร้องเรียนนอกองค์กร ดังเช่นตัวอย่างข้างต้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
            ว่าผู้มีส่วนได้เสียมอง “การเยียวยา” ในบริบทท้องถิ่นอย่างไร กลไกเหล่านี้ถูกมองว่ามีประสิทธิผลหรือไม่เพียงใด

    สำาหรับธุรกิจอย่างโรงแรมซึ่งมีพื้นที่ปฏิบัติการที่ชัดเจน บริษัทควรให้ความสำาคัญเบื้องแรกกับการพัฒนากลไก  ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากผู้มีส่วนได้เสียมองว่ากลไกเหล่านี้ไกลตัวหรือเข้าไม่ถึง ประเด็นนี้ก็อาจส่งผลให้พวกเขามีทางเลือก
 ระดับปฏิบัติการที่จะสนองตอบต่อผลกระทบในท้องถิ่นได้ อย่างไรก็ตาม สำาหรับบริษัทขนาดใหญ่ซึ่งมีพื้นที่ปฏิบัติการ  น้อยลงในการรับมือกับข้อกังวลต่างๆ
 หลายแห่ง เช่น โรงแรมหลายแห่ง บุคลากรในสำานักงานใหญ่อาจมีบทบาทเบื้องแรกในการเขียนนโยบาย แนวปฏิบัติ
 หรือหลักเกณฑ์เป็นการทั่วไป เพื่อช่วยให้ระดับปฏิบัติการสามารถออกแบบกลไกที่ได้ประสิทธิผล ซึ่งก็ควรเผื่อพื้นที่      การจัดทำา “แผนที่” กลไกรับเรื่องร้องเรียนอื่นๆ และเข้าใจมุมมองทางวัฒนธรรมเกี่ยวกับ “การเยียวยา” จะช่วยให้

 ให้ระดับปฏิบัติการสามารถออกแบบกลไกที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ แต่ไม่ว่าจะมีรูปแบบอะไรก็ตาม ระดับปฏิบัติการ  บริษัทเข้าใจได้มากขึ้นว่า จะจัดวางตำาแหน่งหรือจุดยืนของกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการอย่างไร  ในทางที่
 ควรส่งข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนและผลลัพธ์กลับไปยังสำานักงานใหญ่ เพื่อติดตามผลและสนับสนุนกระบวนการ   เพิ่มมูลค่าและไม่ตัดตอนหรือบั่นทอนกระบวนการของทางการที่มีอยู่เดิม
 เรียนรู้ระดับองค์กร โดยบริษัทควรเคารพในสิทธิความเป็นส่วนตัวและรักษาความลับของผู้ร้องเรียน วางมาตรการที่จะ
 ป้องกันไม่ให้ผู้ร้องเรียนถูก “แก้แค้น” หรือได้รับผลกระทบเชิงลบใดๆ จากการร้องเรียน  ปฏิสัมพันธ์กับกลไกรับเรื่องร้องเรียนอื่น




 2                ผู้ร้องเรียนสามารถเลือกที่จะแสวงหาการเยียวยาจากผลกระทบที่มองว่าเกิดขึ้น ผ่านระบบศาลหรือกระบวนการ
 การท�างานร่วมกับกระบวนการเยียวยาภายนอก
            ทางปกครอง แทนที่จะมาร้องเรียนกับบริษัทโดยตรง บริษัทย่อมมีสิทธิที่จะโต้แย้งข้อกล่าวหาใดๆ ที่บริษัทเชื่อว่าไม่มีมูล

            ความจริงหรือไม่ถูกต้อง แต่ในบางสถานการณ์ บริษัทอาจพบว่าเป็นประโยชน์ที่จะสร้าง “สะพาน” เชื่อมไปยังกลไกของ

    กระบวนการแก้ไขภายนอกของรัฐหรือองค์กรอื่น อาทิ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อาจเป็นทางเลือก  รัฐ จากกระบวนการของบริษัทเอง ยกตัวอย่างเช่น บริษัทอาจตกลงกับชุมชนท้องถิ่นว่า ถ้าหากตกลงกันเรื่องการเยียวยา
 ของผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับผลกระทบที่จะไปร้องเรียน ผู้ร้องเรียนควรมีเสรีภาพในการเลือกช่องทางร้องเรียนด้วยตัวเอง   ไม่ได้ ทั้งสองฝ่ายจะส่งเรื่องไปยังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติให้ช่วยตัดสิน


    กระบวนการภายนอกที่มีอยู่เดิมสามารถช่วยในการออกแบบกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการได้ เช่น
 ช่วยสาธิตว่าชุมชนท้องถิ่นนิยมวิธีใดในการร้องเรียนและกำาหนดลักษณะการเยียวยา และเป็นช่องทาง “ทางการ” ถ้า

 หากกลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการของบริษัทไม่สามารถบรรลุผลลัพธ์ที่ตกลงร่วมกันได้  3  การออกแบบกลไกเยียวยาระดับปฏิบัติการที่ได้ประสิทธิผล



 การจัดท�าแผนที่กลไกรับเรื่องร้องเรียน
                  หลักการชี้แนะ UNGP ระบุว่า กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการควรจะมีลักษณะคือ มีความชอบธรรม

    กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการเป็นช่องทางหนึ่งเท่านั้นในการตอบสนองต่อข้อร้องเรียนที่ว่าบริษัท   เข้าถึงง่าย คาดหวังได้ เท่าเทียม โปร่งใส สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ตั้งอยู่บนการสนทนาสองทางและการมี
 ก่อให้เกิดหรือมีส่วนก่อให้เกิดผลกระทบ ผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าถึงกลไกอื่นๆ เชิงปกครอง เชิงบริหาร หรือเชิงตุลาการ   ส่วนร่วม และสามารถสรุปบทเรียนอย่างต่อเนื่องได้

 อาทิ
                  กลไกรับเรื่องร้องเรียนระดับปฏิบัติการไม่ควรกีดกันการเข้าถึงกระบวนการทางศาลหรือกระบวนการอื่น  หรือ

            บั่นทอนบทบาทของสหภาพแรงงานหรือองค์กรอื่น และวางมาตรการคุ้มครองผู้ร้องเรียนจากการถูก “แก้แค้น” เท่าที่
 •  โครงการก่อสร้างอาจได้สินเชื่อจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งมี  ทำาได้
 ระบบรับเรื่องร้องเรียนของตนเอง

 •  ช่องทางรับเรื่องร้องเรียนของสำานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน   การระบุขอบเขตของกลไก
 แห่งชาติ
 •  ช่องทางรับเรื่องร้องเรียนขององค์กรพัฒนาเอกชน เช่น ด้านแรงงาน สิทธิ     บริษัทอาจวางกลไกที่แตกต่างกันสำาหรับผู้ส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม เช่น กลไกหนึ่งสำาหรับบุคลากรหรือแรงงาน
 ชนพื้นเมือง หรือสิ่งแวดล้อม  อีกกลไกสำาหรับผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (เช่น ชุมชน) หรืออาจรวมศูนย์การรับเรื่องร้องเรียนไว้ที่จุดจุดเดียว แล้วกระจาย
 •  ช่องทางการฟ้องร้อง  เรื่องร้องเรียนไปยังกระบวนการภายในต่างๆ







 80                                                                                                       81
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86