Page 65 - คู่มือประเมินความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน และรายการตรวจสอบของภาคธุรกิจ
P. 65

กรอบการท�า HRDD      7







 •  ให้คำาแนะนำาและช่วยเป็น “พี่เลี้ยง” เมื่อเกิดปัญหาขึ้น แทนที่จะ “แบล็กลิสต์”      คุณอาจใช้ “ต้นไม้ตัดสินใจ” (Decision Tree) ดังตัวอย่างในแผนภาพด้านล่าง เป็นเครื่องมือประกอบการตัดสินใจ
 บริษัทนั้นๆ ทันที  ว่าบริษัทควรทำาอย่างไรกับความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดกับบุคคลที่สามซึ่งมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท
 •  ประกาศให้ชัดเจนว่าถ้าหากผู้รับเหมาหรือคู่ค้าไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

 จะเกิดผลพวงอะไรบ้าง เช่น การกล่าวถึงข้อกังวลต่อสาธารณะ หรือแม้แต่
 การยกเลิกความสัมพันธ์ทางธุรกิจ

                 เรามีอิทธิพลต่อบุคคลที่สาม
                       หรือไม่

                                            เราสามารใช้อิทธิพลนี้บรรเทา                เพียงพอหรือไม่
    บริษัทของคุณอาจจัดซื้อจัดจ้างหรือใช้บริการของผู้รับเหมา / คู่ค้าในพื้นที่ดำาเนินโครงการ ซึ่งในแง่ดีอาจช่วย   ไม่ใช่  ใช่  ความเสี่ยงได้หรือไม่  ใช่
 สร้างงานในท้องถิ่นและช่วยพัฒนาชุมชน แต่ในขณะเดียวกันก็อาจนำามาซึ่งความเสี่ยงด้านสิทธิมนุษยชนที่สูงขึ้น ถ้าหาก

 บริษัทท้องถิ่นไม่ตระหนักในสิทธิมนุษยชนหรือไม่มีศักยภาพที่จะเคารพสิทธิ ฉะนั้นคุณอาจต้องปรับปรุงกลยุทธ์และ  ไม่ใช่
 ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของบริษัท ทำางานอย่างใกล้ชิดกับคู่ค้า ผู้รับเหมา และชุมชนในพื้นที่   เราสามารถเพิ่มอิทธิพล  ไม่ใช่  ใช่
                    ด้วยตัวเองหรือไม่


 จุดคานงัดผ่านการหว่านล้อม                  เราสามารใช้อิทธิพลนี้บรรเทา                เพียงพอหรือไม่
                  ไม่ใช่      ใช่                                        ใช่
                                               ความเสี่ยงได้หรือไม่
    ปกติแล้วการหว่านล้อมจะมีความสำาคัญอย่างยิ่งในฐานะวิธีส่งอิทธิพลในทุกระดับ ยกตัวอย่างเช่น ระหว่าง
 ผู้จัดการด้านความปลอดภัยในพื้นที่โครงการกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง และระหว่างผู้บริหารระดับสูงกับรัฐบาล บริษัท  เราสามารถเพิ่มอิทธิพล  ไม่ใช่  ไม่ใช่  ใช่

 อาจหว่านล้อมผ่านช่องทางสื่อสารที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการก็ได้ บริษัทควรมองหาโอกาสที่จะอธิบายและสาธิต   ผ่านวีธีการอื่นหรือไม่
 “ประโยชน์ทางธุรกิจ” ของการเคารพสิทธิมนุษยชนให้พันธมิตรต่างๆ ได้รับรู้ เช่น อธิบายว่าผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน  เราสามารใช้อิทธิพลนี้บรรเทา  ใช่  เพียงพอหรือไม่
 จะทำาให้ความขัดแย้งกับชุมชนมีต้นทุนที่สูงขึ้นอย่างไร ในบางกรณีบริษัทอาจเสนอให้จัดตั้งคณะทำางานร่วมกันระหว่าง  ไม่ใช่  ใช่  ความเสี่ยงได้หรือไม่

 บริษัทกับภาครัฐ เพื่อรับมือกับประเด็นเฉพาะด้าน
    กล่าวโดยสรุป การกระทำาที่บริษัทควรลงมือนั้นขึ้นอยู่กับชนิดของผลกระทบที่เกิดขึ้น ดังสรุปในตารางต่อไปนี้  ไม่ใช่
                  เราสามารถเพิ่มอิทธิพล
                   ผ่านการร่วมมือหรือไม่                                                ไม่ใช่      ใช่
 แนวทางการปฎิบัติที่เหมาะสมในการจัดการผลกระทบที่ตรวจพบ

                  ไม่ใช่      ใช่           เราสามารใช้อิทธิพลนี้บรรเทา                เพียงพอหรือไม่
                                               ความเสี่ยงได้หรือไม่      ใช่
 ประเภทของผลกระทบ  ผลกระทบที่มีสาเหตุจากธุรกิจ  ผลกระทบที่ธุรกิจมีส่วนก่อให้เกิด  ผลกระทบที่เชื่อมโยงโดยตรงกับการ
 ปฎิบัติงานของธุรกิจสินค้าและบริการ
 ผ่านความสัมพันธ์ทางธุรกิจ (ทั้งที่มี
 สัญญาและไม่มีสัญญา)  เราสามรถเปลี่ยนบุคคลที่สาม    ไม่ใช่
                โดยไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย                                             ไม่ใช่      ใช่
                 ต่อสิทธิมนุษยชนได้หรือไม่
 สิ่งที่ต้องท�า  ด�าเนินตามขั้นตอนที่จ�าเป็น  ด�าเนินตามขั้นตอนที่จ�าเป็น  ใช้จุดคานงัดที่มีอยู่เพื่อป้องกัน
 เพื่อยุติ และป้องกัน   เพื่อยุติหรือป้องกันผลกระทบ  หรือบรรเทาผลกระทบ
 ผลกระทบ  ที่เกิด รวมทั้งด�าเนินการผ่าน
 เพิ่มจุดคานงัด หากที่มีอยู่   ไม่ใช่  ใช่
 จุดคานงัด และเพิ่มจุดคานงัด
 ไม่เพียงพอ
 จัดให้มีการเยียวยาผลกระทบ  หากจ�าเป็น
 ที่เกิดขึ้น
 จัดให้มีการเยียวยาผลกระทบ  ธุรกิจไม่ได้ถูกคาดหวังว่าจะ
 ที่เกิดขึ้น  ต้องท�าหน้าที่เยียวยา แม้ว่า
                 สามารถเสนอทางเลือกอื่นๆ
 อาจจะมีบทบาทที่ควรจะท�า
                   ในการท�างานร่วมกับ
                  บุคคลที่สามรายต่อไปได้

 ที่มา: UN Guiding Principle



 64                                                                                                       65
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70