Page 99 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 99
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
สิทธิของผู้ต้องขังในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการช่วยให้ผู้ต้องขังสามารถ
ตามผู้ต้องขังไปโดยอัตโนมัติ โดยเชื่อมโยงฐานข้อมูล เข้าถึงสิทธิในการรับบริการด้านสาธารณสุขในเรือน
ของเรือนจ�าเข้ากับฐานข้อมูลระบบหลักประกัน จ�าในกรณีที่ไม่จ�าเป็นต้องใช้บุคลากรทางการแพทย์
สุขภาพแห่งชาติ การขึ้นทะเบียนสถานพยาบาล โดยตรง ๑๖๐
ในเรือนจ�าให้เป็นหน่วยพยาบาลปฐมภูมิเพื่อดึงเข้าระบบ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และการสร้างระบบส่งตัว ๔. การเข้าถึงสิทธิในการรับบริการด้านสุขภาพของกลุ่ม
ระหว่างสถานพยาบาลในเรือนจ�ากับโรงพยาบาล ๑๕๘ ผู้อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อ
อย่างไรก็ตาม ยังมีผู้ต้องขังในเรือนจ�าร้อยละ ๑๕ เอชไอวีประมาณ ๔๔๐,๐๐๐ คน รัฐบาลได้ก�าหนด
๑๖๑
ของผู้ต้องขังทั่วไปทั้งหมดที่มีข้อก�าจัดในการเข้าถึงการรับ แนวทางการป้องกันและแก้ปัญหาเพื่อหยุดยั้งการแพร่
บริการด้านสาธารณสุขเพราะเป็นผู้ไม่มีสถานะ ระบาดของเชื้อเอชไอวีไม่ให้กลายเป็นปัญหาสาธารณสุข
ทางทะเบียนราษฎร โดยเป็นคนไทยประมาณ ๓๐,๐๐๐ คน โดยสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล�้า
และคนต่างด้าวประมาณ ๑๔,๐๐๐ คน ๑๕๙ ในการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขของรัฐและการไม่เลือก
ซึ่งกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรมได้เชื่อมข้อมูล ปฏิบัติต่อบุคคลกลุ่มดังกล่าว รวมถึงการให้ภาคีเครือข่าย
ลายนิ้วมือของผู้ต้องขังในกรณีผู้ต้องขังคนไทยเทียบกับ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมมีส่วนร่วม
ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎรของกรมการปกครอง กระทรวง ในการจัดระบบการดูแลและป้องกัน โดยจัดท�า
มหาดไทย เพื่อแก้ปัญหาในกรณีที่ไม่มีบัตรประจ�าตัว ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์
ประชาชน นอกจากนี้ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๓ รัฐบาลได้ตั้งเป้าหมายให้ผู้ติดเชื้อ
๑๖๒
ได้ร่วมมือกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง ทราบสถานะตนเอง ผู้ติดเชื้อได้รับยาต้านไวรัส และ
สาธารณสุข พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขในกลุ่มผู้ต้องขัง ผู้รับยากดปริมาณไวรัสลงได้ที่ร้อยละ ๙๐ ในแต่ละขั้นตอน
ในเรือนจ�า (อสรจ.) (Prisoner Health Volunteer ซึ่งในปี ๒๕๖๐ มีผลการด�าเนินการในแต่ละขั้นตอน
: PHV) โดยมีหลักสูตรฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพ ในทุกระบบสิทธิของหลักประกันสุขภาพอยู่ที่ร้อยละ ๙๖.๕
ให้กับกลุ่มผู้ต้องขังในเรือนจ�าที่เป็นอาสาสมัครสาธารณสุข ร้อยละ ๘๓.๘ และร้อยละ ๖๙.๔ ตามล�าดับ
๑๖๓
๑๕๘ จาก สปสช. เร่งดันนโยบายแก้ปัญหาผู้ต้องขัง 1.2 แสนคน ไม่มีสิทธิรักษาพยาบาล, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2018/07/77989
๑๕๙ จาก สปสช. หนุน สธ. ยธ. ร่วมพัฒนาระบบสุขภาพผู้ต้องขังเข้าถึงสิทธิในการรักษาอย่างเหมาะสม, โดย ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก, ๒๕๖๑.
๑๖๐ สืบค้นจาก www.hfocus.org/content/2017/07/14274 จาก กรม สบส. จับมือกรมราชทัณฑ์พัฒนา อสรจ. เป็นแกนน�าสร้างสุขภาพดีในเรือนจ�าทั่วประเทศ,
โดย กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://hss.moph.go.th/show_topic.php?id=2264
๑๖๑ จาก แนวคิดการรณรงค์วันเอดส์โลก ๑ ธันวาคม ๒๕๖๑, โดย ส�านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://aidssti.ddc.
moph.go.th/medias/view/125/550
๑๖๒ จาก ยุทธศาสตร์แห่งชาติว่าด้วยการยุติปัญหาเอดส์ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๖๗๓, โดย ส�านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๖๑.
สืบค้นจาก http://aidssti.ddc.moph.go.th/contents/view/1759
จาก รายงานการสร้างระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ ๒๕๖๐, โดย ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.nhso.go.th/
frontend/page-about_result.aspx
๑๖๓ จาก กองทุนเอดส์บัตรทอง ปี 2560 ผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าถึงรักษาเร็วขึ้นเพิ่มคุณภาพชีวิต, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/
2017/05/76779
98