Page 103 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 103
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
(availability) และคุณภาพ (quality) ของบริการ ปัญหาเกี่ยวกับวัตถุอันตรายอย่างเป็นระบบ โดยทบทวน
อย่างไรก็ดี ยังมีบุคคลบางกลุ่มที่พบปัญหาและอุปสรรค แก้ไขกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การมีมาตรการ
ในการเข้าถึงสิทธิที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ เช่น ทางกฎหมายเพื่อควบคุมวัตถุอันตรายอื่น ๆ ที่มีความเสี่ยง
ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน หรือ ต่อการเกิดผลกระทบด้านสุขภาพ และการมีมาตรการ
พื้นที่ทุรกันดาร รวมถึงในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�ากัดการตลาดและการโฆษณาการใช้สินค้าและ
บุคคลที่ไม่มีบัตรประจ�าตัวประชาชนซึ่งรวมถึงผู้ไร้รัฐ/ สารเคมีกลุ่มป้องกันและก�าจัดศัตรูพืช
ไร้สัญชาติ พระสงฆ์และผู้ต้องขังจ�านวนหนึ่ง และแรงงาน
เคลื่อนย้าย (ไทย/ต่างด้าว) ในส่วนของสถานการณ์
การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นและการติดเชื้อเอชไอวีซึ่งรัฐ
มีความพยายามในการแก้ไขปัญหา ท�าให้สถานการณ์
มีแนวโน้มดีขึ้น แต่อัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นและ
จ�านวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีใหม่ยังคงสูงอยู่ ในประเด็นที่เกี่ยวกับ
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพยังมีความเห็นต่าง กรณีการใช้สารเคมี
ป้องกันและก�าจัดศัตรูพืชที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ซึ่งยังไม่ได้ข้อยุติที่ชัดเจน การอนุญาตให้มีการใช้สารเคมี
ดังกล่าวต่อไปโดยยังไม่มีการประกาศมาตรการจ�ากัด
การใช้ที่ชัดเจนเป็นความเสี่ยงที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ของประชาชนได้
ข้อเสนอแนะ
๑. การปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข รัฐควรเร่งพัฒนา
ระบบบริการปฐมภูมิเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
บริการด้านสุขภาพได้อย่างทั่วถึงตามเป้าหมายและ
กรอบระยะเวลาที่ก�าหนดในแผนการปฏิรูปประเทศ
โดยปรับปรุงแก้ไขและจัดท�ากฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
หลักประกันสุขภาพให้สอดคล้องกันเป็นระบบ นอกจากนี้
รัฐควรให้ความส�าคัญกับการดูแลประชากรบางกลุ่มที่มี
อุปสรรคในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพดังที่ได้กล่าวข้างต้น
รวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง
และควรมีการเผยแพร่ความก้าวหน้าของผลการด�าเนินการ
ปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุขให้สาธารณชนได้รับรู้
อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ
๒. การบริหารจัดการปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ รัฐบาล
ควรเร่งแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันและก�าจัด
ศัตรูพืชที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพให้เป็นรูปธรรม
โดยรับฟังความเห็นทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐด้านสุขภาพ ด้านการเกษตร
นักวิชาการ และภาคประชาสังคม รวมถึงด�าเนินการแก้ไข
102