Page 101 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 101

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          กลุ่มพาราควอต ตามความเห็นของคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง   ความคิดเห็นเมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๖๑ แต่ ณ สิ้นปี ๒๕๖๑
          เฉพาะกิจ ๑๗๑  แต่ให้มีการจ�ากัดการใช้สารเคมีดังกล่าว  ยังไม่มีการบังคับใช้ร่างประกาศดังกล่าว
          โดยมอบให้กรมวิชาการเกษตรไปก�าหนดมาตรการ
          เสนอคณะกรรมการฯ  พิจารณาต่อไป  สาธารณชน             การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค

          ได้ให้ความสนใจประเด็นดังกล่าว เนื่องจากมีข้อมูลที่  โดยภาพรวมของสถานการณ์สิทธิด้านสุขภาพ
          แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการใช้สารเคมีกลุ่มก�าจัด  ในปี ๒๕๖๑ อาจกล่าวได้ว่ารัฐบาลมีนโยบายและมาตรการ
          ศัตรูพืชกับผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น เกษตรกรในพื้นที่   ต่าง ๆ ในการประกันสิทธิด้านสุขภาพ และมีความพยายาม
          จังหวัดหนองบัวล�าภูซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการใช้สารเคมี  อย่างต่อเนื่องที่จะด�าเนินการเพื่อบรรลุมาตรฐาน

          ก�าจัดศัตรูพืชในปริมาณสูงป่วยเป็นโรคเนื้อเน่า ท�าให้  สูงสุดที่เป็นไปได้  (the  highest  attainable
          ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล�าภูได้ร่วมมือ     standard of health) ในการจัดบริการด้านสาธารณสุข
          กับนักวิชาการเพื่อด�าเนินการวิจัยหาความสัมพันธ์ของ   อย่างเพียงพอกับความต้องการของประชาชน
          การตกค้างของสารเคมีทางการเกษตรกับการเกิดโรคเนื้อเน่า     ตามข้อ ๑๒ ของกติกา ICESCR และได้มีการด�าเนินการ
                                                       ๑๗๒
          นักวิชาการและภาคประชาสังคมขอให้รัฐบาลด�าเนินการ     ให้เกิดความก้าวหน้าในสิทธิด้านสุขภาพหลายประการ
          ยกเลิกการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชกลุ่มพาราควอต      ทั้งในด้านการเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุข
          ในเดือนกรกฎาคม  ๒๕๖๑  รัฐบาลได้แต่งตั้ง             ของรัฐและการปรับปรุงคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข
          คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันก�าจัด

          ศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง โดยให้มีอ�านาจหน้าที่รวบรวม  รัฐได้ประกาศแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข
          วิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับผลกระทบของสารเคมี   ที่มุ่งให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
          ก�าจัดศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง  ได้แก่  พาราควอต    อย่างทั่วถึงมากขึ้นด้วยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
          คลอร์ไพริฟอส และไกลโพเสต เพื่อก�าหนดแนวทางการ       ที่มีความครอบคลุม และการกระจายอ�านาจไปยังพื้นที่

          บริหารจัดการที่เหมาะสมต่อไป  ในระหว่างการพิจารณา    ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อบริหารระบบ
                                   ๑๗๓
          ของคณะกรรมการชุดนี้ กรมวิชาการเกษตรได้จัดท�าร่าง    สุขภาพให้ประชาชนได้ประโยชน์สูงสุดและสอดคล้อง
          ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เกี่ยวกับการจ�ากัด       กับปัญหาสุขภาพในแต่ละพื้นที่ มีการจัดท�าแผนแม่บท
          ใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชทั้ง  ๓  ชนิด  และเปิดรับฟัง   บูรณาการพัฒนาระบบประกันสุขภาพระยะต้น




























          ๑๗๑  จาก คกก.วัตถุอันตราย มติไม่แบน ‘พาราควอต-คลอร์ไพริฟอส’-แค่จ�ากัดการใช้, โดย ส�านักข่าวอิศรา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews-news/
          66201-paraquat-66201.html
          ๑๗๒  จาก ‘โรคเนื้อเน่า’ จากสารเคมีเกษตร หนองบัวล�าภูจังหวัดเดียว สูงพันกว่าราย, โดย ศูนย์ข้อมูล & ข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมือง, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.tcijthai.com/
          news/2018/3/scoop/7850
          ๑๗๓  จาก ค�าสั่งส�านักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๗๘/๒๕๖๑ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีป้องกันก�าจัดศัตรูพืชที่มีความเสี่ยงสูง ลงวันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑.


      100
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106