Page 95 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 95

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ดูแลประชาชนในสัดส่วนประมาณ ๘,๐๐๐ – ๑๒,๐๐๐ คน        มาใช้ เช่น การพัฒนาแอปพลิเคชันผ่านอุปกรณ์การสื่อสาร
          โดยใช้โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพต�าบล (รพ. สต.)      ได้แก่ “RAMA Appointment” ของโรงพยาบาลรามาธิบดี
                                                                                                          ๑๔๐
          และศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง  (ศสม.)  เป็นสถานที่       “QueQ Application” ของโรงพยาบาลราชวิถี ๑๔๑
          จัดตั้งหน่วยบริการ  โดยในปี ๒๕๖๑ มีการด�าเนินงาน
                          ๑๓๗
          ขึ้นทะเบียนคลินิกหมอครอบครัวในพื้นที่เขตสุขภาพ      ๓. การประกันสิทธิในการเข้าถึงการบริการ
          ทั้ง ๑๒ เขต จ�านวน ๕๕๓ ทีม                          สาธารณสุขของรัฐ
                                   ๑๓๘
                                                              ประชาชนกว่าร้อยละ  ๙๙  ได้รับการประกันสิทธิ
          ๓. การพัฒนาคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุข          ในการเข้ารับบริการสาธารณสุขของรัฐผ่านระบบประกัน

          กระทรวงสาธารณสุข ได้น�ากระบวนการรับรองคุณภาพ        สุขภาพตามสิทธิของตนเอง ซึ่งได้แก่ ระบบหลักประกัน
          ของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้    สุขภาพแห่งชาติ ระบบประกันสังคม และระบบสวัสดิการ
          เพื่อพัฒนาคุณภาพของการบริการด้านสาธารณสุข           รักษาพยาบาลของข้าราชการ ในปี ๒๕๖๑ กระทรวงการคลัง
          โดยในปี ๒๕๖๑ พบว่า แนวโน้มโรงพยาบาลในระบบ           โดยกรมบัญชีกลางได้เชื่อมโยงสิทธิในการเข้ารับ

          หลักประกันสุขภาพแห่งชาติผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพ   การรักษาพยาบาลของโรงพยาบาลรัฐทุกแห่ง
          มากขึ้นกว่าปี ๒๕๖๐ ร้อยละ ๔.๕๖  ซึ่งแสดงให้เห็นว่า   กับเลขบัตรประจ�าตัวประชาชนผู้มีสิทธิตามระบบสวัสดิการ
                                        ๑๓๙
          ประชาชนเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพที่มีคุณภาพดีขึ้นโดยล�าดับ   รักษาพยาบาลของข้าราชการ ซึ่งเป็นการประกันสิทธิ
          และได้น�านโยบายการขับเคลื่อนเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสุขภาพ  ในการรับบริการและเข้าถึงสิทธิได้อย่างสะดวก







































          ๑๓๗  จาก หนังสือส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๒๓๙.๐๓/๔๓๑ ลงวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๑ เรื่อง การทบทวนแผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัว ปีงบประมาณ
          พ.ศ.๒๕๖๑ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
          ๑๓๘  การขึ้นทะเบียนคลินิกหมอครอบครัว รอบที่ ๑ ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ส�านักงานสนับสนุนระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
          กระทรวงสาธารณสุข.
          ๑๓๙  จากรายงานผลการด�าเนินการของส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี ๒๕๖๑ ร้อยละ ๗๙.๗๐ ของหน่วยบริการรับส่งทั้งหมด ๑,๐๖๔ แห่ง ผ่านมาตรฐาน HA
          และโดยภาพรวมแล้ว ร้อยละ ๖๕.๑๖ หน่วยบริการภาพรวมแล้ว ร้อยละ ๖๕.๑๖ หน่วยบริการปฐมภูมิ ร้อยละ ๗๔.๓๑ หน่วยบริการประจ�า และร้อยละ ๓๖.๕๓ หน่วยบริการรับส่งต่อ
          ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖๐ ร้อยละ ๔.๕๖.
          ๑๔๐  จาก EGA จับมือ รพ.รามาธิบดีเปิดตัวแอปพลิเคชัน RAMA, โดย โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://med.mahidol.ac.th/health_service/
          th/news/services/05232016-1919-th
          ๑๔๑  จาก QueQ Application, โดย โรงพยาบาลราชวิถี, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.rajavithi.go.th/rj/?p=6944


       94
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100