Page 97 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 97

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ๑.  การเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพของกลุ่มเปราะบาง
          (vulnerable)  ประชากรกลุ่มแรกที่ยังไม่สามารถ
          เข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุข คือ บุคคลที่อาศัย
          ในประเทศไทยแต่ไม่มีบัตรประจ�าตัวประชาชน และ/

          หรือไม่มีชื่อในระบบทะเบียนราษฎร  รวมถึงบุคคล
          ที่เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาติ รัฐได้มีนโยบายที่จะให้บุคคล
          ที่มีปัญหาสถานะและสิทธิได้รับสิทธิขั้นพื้นฐาน
          ด้านสาธารณสุขที่ครอบคลุมทั้งการสร้างเสริมสุขภาพ

          การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ
          ซึ่งเป็นไปตามมติ ครม. เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓    ต่างด้าว) กลุ่มประชากรที่อาศัยในพื้นที่ที่ห่างไกลและ
          และเมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๕๘ ครม. ได้มีมติให้สิทธิ   ยากต่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุข เช่น พื้นที่สูง พื้นที่
          ดังกล่าวแก่ผู้มีปัญหาสถานะที่ได้รับการส�ารวจ        ชายแดน พื้นที่ทุรกันดาร เป็นต้น กลุ่มประชากรในพื้นที่

          เพื่อจัดท�าทะเบียนประวัติเพิ่มเติม  แต่ยังมีบุคคลตกหล่น  ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงกลุ่มประชากรที่มีระดับ
                                     ๑๔๗
          จากการส�ารวจหรือไม่มีสถานะทางทะเบียนอีกจ�านวนหนึ่ง   ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนต�่ากว่าเกณฑ์  ทั้งนี้
                                                                                                     ๑๕๑
          ด้วยเหตุต่าง  ๆ  จึงท�าให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการ    สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขได้สนับสนุนโครงการวิจัย
          สุขภาพได้ ๑๔๘  ส�าหรับกลุ่มพระสงฆ์ที่ไม่มีบัตรประจ�าตัว   เรื่อง “การศึกษาแนวคิดและแนวทางปฏิบัติเพื่อตอบสนอง

          ประชาชน   ๑๔๙   กระทรวงสาธารณสุข  ส�านักงาน         ต่อความต้องการด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบาง
          หลักประกันสุขภาพแห่งชาติและมหาเถรสมาคม ส�านักงาน    ด้านสุขภาพในระดับพื้นที่ของประเทศไทย”
          พระพุทธศาสนาแห่งชาติ จะร่วมมือกับกรมการปกครอง       ซึ่งพบว่าการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพที่ผ่านมา
          กระทรวงมหาดไทย ส�ารวจและขึ้นทะเบียนพระสงฆ์          ประสบความส�าเร็จในด้านความครอบคลุมของประชากร

          และวัดให้ครอบคลุมทั้งประเทศ โดยจะเชื่อมโยงกับ       แต่ประเด็นที่ควรให้ความส�าคัญต่อจากนี้คือการ
          บัตรประจ�าตัวประชาชนและระบบทะเบียนราษฎร             เข้าถึงสิทธิของประชากรกลุ่มเปราะบาง  ซึ่งรัฐ
          โดยคาดว่าในปี ๒๕๖๓ จะด�าเนินการขึ้นทะเบียนพระสงฆ์   ควรมีนโยบายสาธารณะที่ชัดเจนในการตอบสนองต่อ
          ทั่วประเทศประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ รูปให้แล้วเสร็จและ         ประชากรกลุ่มนี้และแนวทางด�าเนินการอาจต้องมี

          จัดท�าบัตรประจ�าตัวพระสงฆ์  เพื่อให้พระสงฆ์ทั้ง     รูปแบบที่หลากหลายเพื่อให้เหมาะกับบริบทที่แตกต่างกัน
          ประเทศสามารถเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุข     ของแต่ละพื้นที่  และตอบสนองความต้องการ
          ของรัฐได้  นอกจากนี้ ยังพบว่า มีประชากรกลุ่มเปราะบาง   ของกลุ่มประชากรที่แตกต่างกันได้ ๑๕๒
                 ๑๕๐
          ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดที่สามารถ

          ป้องกันด้วยวัคซีนได้  ยังไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ      ๒.  การเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสุขภาพทางเพศ
          ในการรับการป้องกันและขจัดโรคติดต่อจากรัฐโดยไม่เสีย  และอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มวัยรุ่น รัฐบาลประกาศใช้
          ค่าใช้จ่าย ได้แก่ กลุ่มประชากรแรงงานเคลื่อนย้าย (ไทย/   พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์


          ๑๔๗  จาก คู่มือแนวทางการบริหารจัดการบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑, โดย กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ ส�านักงานปลัดกระทรวง
          สาธารณสุข, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://state.cfo.in.th/Portals/0/PUI%2060/แจ้งข่าวหน่วยงาน/04_แนวทางการด�าเนินงาน%20ปี%2061%20แก้ไขวันที่%2025%20มค
          %2061.pdf
          ๑๔๘  จาก เร่งคลี่คลายปัญหาคนมีสถานะ หาหลักฐานเชิงประจักษ์ท�านโยบายดูแลสุขภาพครอบคลุมคนไทยทุกกลุ่ม, โดย ศูนย์ข่าว สปสช., ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://nhsonews.com/
          index.php/news/content/338
          ๑๔๙  จาก สุรินทร์ส�ารวจคนไทยไร้สิทธิ์ พบเหตุไม่แจ้งเกิด-พระ ทหารเกณฑ์ ชื่อถูกจ�าหน่ายออกจากทะเบียนราษฎร์, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/
          journal/2018/08/78331
          ๑๕๐  จาก เร่งท�าบัตรประจ�าตัวพระสงฆ์ 40,000 รูป หนุนเข้าถึงสิทธิรักษา, โดย ส�านักข่าว Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.hfocus.org/content/
          2018/06/15885
          ๑๕๑  จาก คนไทย 4 กลุ่มยังไม่สามารถเข้าถึงวัคซีน อาจส่งผลโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนกลับมาระบาดใหม่ได้, โดย ไทยโพสต์, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.thaipost.net/main/detail/7772
          ๑๕๒  จาก วิจัย “ประชากรเปราะบาง” คนไทยที่ถูกลืม พร้อมแนะโอกาสพัฒนาหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าไทย “ให้สิทธิ-ที่เข้าถึง-มีคุณภาพ-และเป็นธรรม”, โดย สถาบันวิจัย
          ระบบสาธารณสุข (สวรส.), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.hsri.or.th/researcher/media/news/detail/7776


       96
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102