Page 104 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 104

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ๓.๓ ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน


            ภาพรวม
            ตามกติกา ICCPR รัฐมีพันธกรณีที่จะคุ้มครองบุคคล      ทั้งนี้ตามหลักการ UNGPs รัฐมีหน้าที่ในการด�าเนินการใด ๆ

            จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนไม่ว่าจะเกิดจาก          ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน
            การกระท�าโดยหน่วยงาน/เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือโดยบุคคลอื่น   โดยธุรกิจ และหากมีการละเมิดเกิดขึ้น รัฐต้องจัดให้มี
            ซึ่งรวมถึงธุรกิจเอกชนด้วย จากสถานการณ์การละเมิด     การสอบสวนและลงโทษผู้กระท�าผิด รวมทั้งดูแลให้ผู้ถูก
            สิทธิมนุษยชนโดยธุรกิจที่เกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก    ละเมิดสิทธิได้รับการชดเชยเยียวยา ในปี ๒๕๖๐ รัฐบาล

            องค์การสหประชาชาติจึงได้จัดท�าแนวทางการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน   ได้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น  และมีความก้าวหน้า
            ในบริบทของการประกอบธุรกิจขึ้น เมื่อปี ๒๕๕๔ เรียกว่า    ในการด�าเนินการเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาผลกระทบ
            หลักการชี้แนะเรื่องสิทธิมนุษยชนส�าหรับธุรกิจ (United    ด้านสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากการด�าเนินการของ
            Nations Guiding Principles on Business and Human Rights:    ภาคธุรกิจอย่างต่อเนื่อง  อาทิ  การแสดงเจตจ�านง  บทที่ ๓

            UNGPs) หลักการดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นฐานของพันธกรณีของรัฐ   ทางการเมืองของนายกรัฐมนตรีโดยให้หน่วยงานของรัฐ
            ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนที่มีอยู่แล้ว โดยมีสาระส�าคัญ   ที่เกี่ยวข้องร่วมลงนามในปฏิญญาเพื่อขับเคลื่อนหลักการ
            แบ่งเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ หน้าที่ของรัฐในการคุ้มครองสิทธิ   UNGPs ในประเทศไทยร่วมกับองค์กรธุรกิจ และ กสม.
            ของประชาชนจากการถูกละเมิดโดยธุรกิจ                  การริเริ่มการจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วย

            ความรับผิดชอบของธุรกิจในการเคารพสิทธิมนุษยชน และ    ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (National Action Plan on
            การเข้าถึงการเยียวยาของผู้ได้รับผลกระทบ             Business and Human Rights: NAP) การปรับปรุง
            ด้านสิทธิมนุษยชนจากการประกอบธุรกิจ (Protect, Respect   แก้ไขพระราชก�าหนดการประมง (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
            and Remedy Framework) แม้ว่า UNGPs จะไม่ได้มีผล     รวมถึงการให้คณะกรรมการนโยบายและก�ากับดูแล

            ผูกพันทางกฎหมายเช่นสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน        รัฐวิสาหกิจขับเคลื่อนหลักการ  UNGPs  ส่วนในปี
            แต่ในการจัดท�า UNGPs ได้มีกระบวนการปรึกษาหารือ      ๒๕๖๑  มีสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นธุรกิจ
            กับทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ องค์กรภาคประชาสังคม    กับสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญ ดังนี้                การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
            และผู้ได้รับผลกระทบในหลายประเทศ  จึงท�าให้

            ได้รับการยอมรับในวงกว้าง                            ๑. การจัดท�แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจ
                                                                กับสิทธิมนุษยชน (NAP)
                                                                สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยได้รับข้อเสนอแนะ
                                                                จากการประชุมทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของ

                                                                ประเทศไทยในกระบวนการ UPR รอบที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๑
                                                                พฤษภาคม ๒๕๕๙ จากประเทศต่าง ๆ จ�านวน ๒๔๙ ข้อ
                                                                ซึ่งรวมถึงข้อเสนอให้ไทยจัดท�าและบังคับใช้แผนปฏิบัติการ
                                                                ระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน  (NAP)

                                                                เพื่อปฏิบัติตามหลักการ UNGPs นั้น รัฐบาลได้แต่งตั้ง
                                                                คณะกรรมการก�าหนดแนวทางจัดท�า  ติดตาม  และ
                                                                ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจ
                                                                กับสิทธิมนุษยชนขึ้นโดยมีกระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงาน

                                                                รับผิดชอบหลัก
                                                                             ๑๗๔

            ๑๗๔  ค�าสั่งกระทรวงยุติธรรมที่ ๘๙/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๖๑ ซึ่งมีองค์ประกอบพื้นฐานและอ�านาจหน้าที่คงเดิมจากคณะกรรมการก�าหนดแนวทาง จัดท�า ติดตาม และ
            ประเมินผลตามแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ตามค�าสั่งกระทรวงยุติธรรม ที่ ๕๕๗/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ และมีการเพิ่มเติมผู้แทน
            จากหน่วยงานภาครัฐที่ด�าเนินงานเกี่ยวข้องกับประเด็นธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ภาคธุรกิจ และภาคประชาสังคม เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการฯ ด้วย.
                                                                                                              103
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109