Page 100 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 100
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
อย่างไรก็ตาม ในปี ๒๕๖๐ พบว่ามีอัตราการติดเชื้อรายใหม่ เพื่อกระตุ้นให้รัฐบาลด�าเนินการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ
เฉลี่ยวันละ ๑๖ คนซึ่งเป็นอัตราที่ยังสูง ท�าให้รัฐบาล การใช้สารเคมีป้องกันและก�าจัดศัตรูพืชอย่างเป็นระบบ
๑๖๔
ยังคงต้องจัดสรรงบประมาณในการด�าเนินงานเพื่อให้ และกระทรวงสาธารณสุขยังได้เสนอรัฐบาลออกกฎหมาย
บรรลุเป้าหมายในการลดการติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เพื่อแยกการควบคุมสารเคมีทางการเกษตรออกจาก
ให้เหลือปีละไม่เกิน ๑,๐๐๐ คน หรือไม่เกิน ๒.๗ คนต่อวัน วัตถุอันตรายทั่วไปอื่น ๆ รวมถึงให้ยกเลิกการใช้สารเคมี
ในปี ๒๕๗๓ ก�าจัดศัตรูพืชกลุ่มพาราควอตเพราะมีข้อมูลเชิงวิชาการ
๑๖๕
ที่ยืนยันได้ว่าจะท�าให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ ๑๖๗
๕. ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ (health determinants) การที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมวิชาการ
การเข้าถึงสิทธิด้านสุขภาพได้ขยายไปถึงปัจจัย เกษตรได้ต่อทะเบียนใบอนุญาตให้สามารถใช้สารเคมี
ที่มีผลต่อสุขภาพ การใช้สารเคมีป้องกันและก�าจัดศัตรูพืช กลุ่มพาราควอตต่อไปอีก ๖ ปี ๑๖๘ ท�าให้กลายเป็น
ที่ตกค้างในสิ่งแวดล้อมสามารถส่งผลกระทบต่อ ประเด็นที่ได้รับความสนใจจากสาธารณชนในวงกว้าง
สุขภาพได้ ในประเด็นนี้ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ในเดือนมกราคม ๒๕๖๑ นายกรัฐมนตรีได้มีข้อสั่งการ บทที่ ๓
๕ (พ.ศ.๒๕๕๕) ได้มีข้อมติเกี่ยวกับความปลอดภัย ให้กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ทางอาหาร: การแก้ไขปัญหาจากสารเคมีก�าจัดศัตรูพืช และกระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกันศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับ
และการพัฒนากลไกและกระบวนการที่สามารถรับมือ การใช้สารเคมีและผลกระทบของสารเคมีกลุ่มพาราควอต
๑๖๙
ผลกระทบด้านสุขภาพจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งหน่วยงานทั้งสามเห็นควรให้ยกเลิกการใช้สารเคมี
โดยเฉพาะอาหารและสินค้าเกษตรที่เป็นอาหาร กลุ่มดังกล่าว รวมทั้งได้เสนอข้อมูลวิชาการเพื่อให้
ซึ่งเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม คณะอนุกรรมการกลั่นกรองเฉพาะกิจน�าไปใช้ประกอบ
(participatory health public policy) กระทรวง การพิจารณาหาแนวทางในการควบคุม แต่ต่อมาในเดือน
๑๗๐
๑๖๖
สาธารณสุข โดยส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ พฤษภาคม ๒๕๖๑ คณะกรรมการวัตถุอันตรายภายใต้
(สช.) ได้ด�าเนินการขับเคลื่อนข้อมติดังกล่าว พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ได้มีมติ
อย่างต่อเนื่องร่วมกับนักวิชาการและภาคประชาสังคม ไม่ยกเลิกการใช้สารเคมีป้องกันและก�าจัดศัตรูพืช การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๑๖๔ จาก ไทยมีผู้ติดเชื้อ HIV รายใหม่วันละ 16 คน, โดย Voice TV, ๒๕๖๐. สืบค้นจาก https://voicetv.co.th/read/HJ_Af90lG
๑๖๕ จาก สมัชชาสุขภาพ, โดย ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/1947
๑๖๖ จาก สมัชชาสุขภาพ, โดย ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://infocenter.nationalhealth.or.th/node/1947
๑๖๗ จาก เวที สช. เจาะประเด็นครั้งที่ 1/2561 พาราควอต “ฆ่าหญ้า” vs “คร่าสุขภาพ” คนไทย, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/
activity/2018/03/75955
๑๖๘ จาก “พาราควอต” ได้ไปต่ออีก 6 ปี อุตฯ โบ้ยเกษตรไม่มีผลวิเคราะห์อันตราย, โดย ประชาชาติธุรกิจ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/economy/
news-74034
๑๖๙ จาก หนังสือส�านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๕๐๕/ว๑๖ ลงวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี.
๑๗๐ จาก มติที่ประชุม สธ. ยืนยันแบนการใช้พาราควอต ภายในปี 62, โดย ส�านักข่าวอิศรา, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.isranews.org/isranews-news/63574-paraquat-63574.html
99