Page 98 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 98
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙ และมีการด�าเนินการภายใต้แผน ๓. การเข้าถึงสิทธิในการรับบริการด้านสุขภาพ
ปฏิบัติการของยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหา ของผู้ต้องขัง การเข้าถึงสิทธิในการรับบริการด้านสุขภาพ
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๗ เพื่อแก้ ในสถานที่กักขังและเรือนจ�า เป็นหนึ่งในข้อกังวล
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้ ของคณะกรรมการประจ�ากติกา ICESCR โดยมีข้อเสนอแนะ
กลุ่มวัยรุ่นสามารถเข้าถึงสิทธิอนามัยผ่านระบบ ให้ประเทศไทยปรับปรุงสภาพแวดล้อมในสถานที่
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้มากขึ้น โดยสามารถเข้ารับ กักขังและเรือนจ�าให้สอดคล้องกับข้อก�าหนดขั้นต�่า
บริการคุมก�าเนิดอย่างไม่ถาวรโดยปราศจากค่าใช้จ่าย ขององค์การสหประชาชาติในการปฏิบัติต่อผู้ต้องขัง
จากหน่วยบริการทุกแห่งทั่วประเทศของระบบ (United Nations Standard Minimum Rules for the
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในระยะเวลา ๕ ปีที่ผ่านมา Treatment of Prisoners หรือ Nelson Mandela Rules)
๑๕๖
อัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นอายุ ๑๕- ๑๙ ปีต่อ กระทรวงสาธารณสุข โดยส�านักงานหลักประกันสุขภาพ
ประชากรหญิงวัยเดียวกัน ๑,๐๐๐ คน มีแนวโน้มลดลง แห่งชาติร่วมกับกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม
อย่างต่อเนื่องชัดเจนจาก ๕๓.๔ คนในปี ๒๕๕๕ เหลือ ได้จัดระบบดูแลสุขภาพให้กับผู้ต้องขังในเรือนจ�าและ บทที่ ๓
๔๒.๕ คน ในปี ๒๕๕๙ แต่ยังมีค่าสูงกว่าค่าเฉลี่ย ทัณฑสถาน ๑๔๓ แห่งทั่วประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์
๑๕๓
การตั้งครรภ์และคลอดบุตรของวัยรุ่นในภูมิภาคเอเชีย การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๔
แปซิฟิก คือ ๓๕ คนต่อประชากร ๑,๐๐๐ คนในวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ ส�าหรับผู้ต้องขังที่เป็น
๑๕๗
เดียวกัน (UNFPA State of World Population) ๑๕๔ ผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวง
โดยประเทศไทยมีเป้าหมายลดอัตราการคลอดของวัยรุ่น สาธารณสุขและกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม
อายุ ๑๕ – ๑๙ ปี ให้ไม่เกิน ๒๕ คนต่อประชากรหญิง ได้แก้ไขปัญหาการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุข
อายุ ๑๕ – ๑๙ ปี ๑,๐๐๐ คนในปี ๒๕๖๙ ของผู้ต้องขังโดยด�าเนินการจัดระบบให้มีการย้าย การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๑๕๕
๑๕๓ อัตราการคลอดของวัยรุ่นอายุ ๑๕ – ๑๙ ปี ต่อกลุ่มประชากรวัยเดียวกัน ๑,๐๐๐ คน (ในระหว่างปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มีค่า ๕๓.๔ (ปี ๒๕๕๕ ) ๕๑.๑ คน (ปี ๒๕๕๖) ๔๗.๓ คน
(ปี ๒๕๕๗) ๔๔.๘ คน (ปี ๒๕๕๘) และ ๔๒.๕ คน (ปี ๒๕๕๙).
จาก รายงานประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ : การลงทุนกับเยาวชน, โดย กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://thailand.unfpa.org/
sites/default/files/pub-pdf/UNFPA%20Presentation_28-Nov-2017.pdf
๑๕๔ จาก รายงานประชากรไทย, โดย กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA), ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://contry-ce.unfpa.org/thailand
๑๕๕ จาก บทสรุป ยุทธศาสตร์การป้องกันและการแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๗, โดย กระทรวงสาธารณสุข, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://rh.anamai.moph.
go.th/download/all_file/index/actionplan_tp/the-National-Strategy-on-Prevention-and-Solution-of-Adolescent-Pregnancy-B.E.2560-2569(2017-2026).pdf
๑๕๖ From Concluding Observations on the combined initial and second periodic reports of Thailand (para. 28), United Nations Economic and Social Council,
E/C12/THA/CO1-2, by Office of the High Commissioner for Human Rights, 2015. Retrieved from https://tbinternet.ohchr.org/_layouts/treatybodyexternal/
Download.aspx?symbolno=E/C.12/THA/CO/1-2&Lang=En
๑๕๗ จาก ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔, โดย ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.nhso.go.th/
frontend/page-contentdetail.aspx?CatID=MTAzMg==
97