Page 94 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 94
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
เป็นต้นไป) ซึ่งเป็นมาตรการควบคุมและก�ากับดูแล ๒. การมีระบบการแพทย์ปฐมภูมิตามมาตรา ๒๕๘
ไขมันทรานส์ในผลิตภัณฑ์อาหารที่จะเป็นสาเหตุ ช. (๕) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
ของความเสี่ยงที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพท�าให้เกิด ๒๕๖๐ กระทรวงสาธารณสุขได้จัดตั้งส�านักงานสนับสนุน
โรคต่าง ๆ เช่น โรคอ้วน โรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้น ๑๓๒ ระบบปฐมภูมิและคลินิกหมอครอบครัว (สปค.)
๑๓๕
การด�าเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับมาตรการจ�ากัด เพื่อด�าเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนา
การตลาดและการโฆษณาสินค้าเฉพาะและบริการ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ และ
เพื่อคุ้มครองสุขภาพและอนามัย ตามความเห็น (General แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัว รวมทั้งได้จัดท�า
Comment) ฉบับที่ ๒๔ ของคณะกรรมการประจ�ากติกา ร่างพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. …. โดยได้จัด
ICESCR ว่าด้วยพันธกรณีของรัฐภายใต้กติกา ICESCR รับฟังความเห็นผ่านทางเว็บไซต์เมื่อเดือนพฤศจิกายน
ในบริบทของกิจกรรมทางธุรกิจ ๒๕๖๑ และรับฟังความเห็นจากผู้แทนวิชาชีพ
๑๓๓
ด้านการแพทย์และสาธารณสุขกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มวิชาชีพ
๒. การลดความเหลื่อมล�้าในการเข้าถึงสิทธิ สาธารณสุข กลุ่มแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว กลุ่มพยาบาล บทที่ ๓
ในการรับบริการสาธารณสุขของรัฐ และคุณภาพ วิชาชีพ กลุ่มสหวิชาชีพ และกลุ่มวิชาชีพเภสัชกรรม ๑๓๖
ในการบริการ ทั้งนี้ สนช. ได้มีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติ
๑. การจัดท�าแผนแม่บทบูรณาการพัฒนาระบบประกัน ดังกล่าวเมื่อวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ ในขณะเดียวกัน
สุขภาพระยะต้น (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ระยะปานกลาง/ กระทรวงสาธารณสุขได้ทบทวนแผนการจัดตั้งคลินิก
ระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๙) มีวัตถุประสงค์ หมอครอบครัว และได้ก�าหนดให้ทีมคลินิกหมอครอบครัว
๑๓๔
เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงสิทธิและได้รับสิทธิประโยชน์ ประกอบด้วยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ๑ คน พยาบาล
ของระบบประกันสุขภาพอย่างเท่าเทียมกัน วิชาชีพ ๒ คน และนักวิชาการสาธารณสุข ๒ คน การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
๑๓๒ จาก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ ๓๘๘ พ.ศ. ๒๕๖๑ เรื่อง ก�าหนดอาหารที่ห้ามผลิต น�าเข้า หรือจ�าหน่าย (๒๕๖๑, ๑๓ กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (ตอนพิเศษ ๑๖๖ ง).๕.
๑๓๓ From General Comment No.24 (2017) on State Obligations under the International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights in the context
of business activities (para. 19), by the United Nations Economic and Social Council, 2018. Retrieved from http://docstore.ohchr.org/SelfServices/
FilesHandler.ashx?enc=4slQ6QSmlBEDzFEovLCuW1a0Szab0oXTdImnsJZZVQcIMOuuG4TpS9jwIhCJcXiuZ1yrkMD%2FSj8YF%2BSXo4mYx7Y%2F3L3z-
vM2zSUbw๖ujlnCawQrJx3hlK8Odka6DUwG3Y
๑๓๔ จาก แผนแม่บทบูรณาการพัฒนาระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ ระยะต้น (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ระยะปานกลาง/ระยะยาว (พ.ศ. ๒๕๖๕-๒๕๗๙), โดย ส�านักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.nhso.go.th
๑๓๕ กระทรวงสาธารณสุข โดยส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้มีค�าสั่งส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ ๑๐๔๕/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐ จัดตั้งส�านักงาน
สนับสนุนระบบปฐมภูมิ และคลินิกหมอครอบครัว (สปค.) โดยมีหน้าที่พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ กลไกและรูปแบบการจัดระบบบริการปฐมภูมิ ผลักดันส่งเสริมให้เกิด
การพัฒนาก�าลังคน สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ตลอดจนพัฒนาระบบติดตาม ประเมินผล และระบบบริหารจัดการ.
๑๓๖ จาก สรุปประเด็นข้อเสนอ “ร่างพระราชบัญญัติระบบการแพทย์ปฐมภูมิและบริการสาธารณสุข พ.ศ. ....”, โดย MTTR ข่าวสารการเคลื่อนไหวเทคนิคการแพทย์, ๒๕๖๑.
สืบค้นจาก www.medtechtoday.org/
93