Page 77 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 77
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
พระราชบัญญัติการชุมนุมสาธารณะ พ.ศ.๒๕๕๘ ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยับยั้งการใช้เสรีภาพดังกล่าว หรือ
มีเจตนารมณ์เพื่อให้การชุมนุมสาธารณะเป็นไปด้วย เพื่อตอบโต้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง มีลักษณะ
ความสงบเรียบร้อย ไม่กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของชาติ เป็นการกระท�าที่คุกคามการท�างานของบุคคล/
ความปลอดภัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อยหรือ กลุ่มบุคคลที่เคลื่อนไหวเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือ
ศีลธรรมอันดี ตลอดจนสุขอนามัยของประชาชน หรือ นักปกป้องสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีผลกระทบอย่างมากต่อ
ความสะดวกของประชาชนที่จะใช้ที่สาธารณะ และไม่ การด�าเนินชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจและ
กระทบกระเทือนสิทธิและเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สภาพจิตใจของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน อาจเข้าข่าย
ของผู้อื่น ตามหมายเหตุท้ายพระราชบัญญัติ ดังนั้น เป็นการด�าเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อระงับการมีส่วนร่วม
การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานที่เกี่ยวข้อง (การดูแล ของสาธารณชน (Strategic lawsuit against public
การชุมนุมสาธารณะ) จึงควรเน้นที่การดูแลและคุ้มครอง participation: SLAPP) การกระท�าดังกล่าว
๘๒
การใช้เสรีภาพการชุมนุมในพื้นที่ดังกล่าว และพึงระมัดระวัง อาจไม่สอดคล้องกับหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การใช้ดุลพินิจที่ส่งผลให้มีการปฏิเสธการชุมนุม ที่เน้นการมีส่วนร่วม รวมทั้งอาจไม่สอดคล้องกับข้อบท
ในทางที่อาจไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย ที่ ๒๕ ของกติกา ICCPR ที่รับรองสิทธิของบุคคล
ในการมีส่วนร่วมในการบริหารรัฐกิจทั้งโดยตรง
ค�าสั่งหัวหน้า คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ ซึ่งออกตามมาตรา ๔๔ และโดยผ่านผู้แทนที่เลือกโดยเสรี
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช ๒๕๕๗ เปิดช่องให้เจ้าหน้าที่ใช้ดุลพินิจระบุ ข้อเสนอแนะ
ขอบเขตของการชุมนุม หรือมั่วสุมทางการเมืองได้อย่าง ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
กว้างขว้างโดยไม่ต้องมีความรับผิดทางปกครอง ของสหประชาชาติ ประจ�ากติกา ICCPR ได้พิจารณา
อาจท�าให้เกิดการจ�ากัดและละเมิดสิทธิที่เกินความจ�าเป็น รายงานการปฏิบัติตามกติกาฯ ของประเทศไทยและ
และไม่ได้สัดส่วน แสดงความกังวลในการบังคับใช้ค�าสั่งหัวหน้า คสช.
ที่ ๓/๒๕๕๘ รวมทั้งเสนอแนะให้ประเทศไทยประกัน
การรวบรวมรายชื่อเพื่อเสนอกฎหมายของผู้มีสิทธิ เสรีภาพในการแสดงออก ทั้งนี้ การจ�ากัดการใช้เสรีภาพ
เลือกตั้งในส่วนที่เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบควรต้องเป็น
เป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ ไปตามเงื่อนไขที่ก�าหนดในข้อบทที่ ๑๙ และข้อบทที่
แห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๖๐ มาตรา ๑๓๓ (๓) ไม่ควรจัดเป็น ๒๑ ของกติกา ICCPR อย่างเคร่งครัด ดังนั้น เพื่อเป็น
การมั่วสุมหรือชุมนุมทางการเมืองตามข้อ ๑๒ ของค�าสั่ง การคุ้มครองการใช้เสรีภาพในการแสดงออกและเสรีภาพใน
หัวหน้า คสช.ที่ ๓/๒๕๕๘ เว้นแต่จะมีกิจกรรมหรือ การชุมนุมโดยสงบของประชาชน และเพื่อการเตรียมการ
การกระท�าอื่นที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงหรือความสงบ เข้าสู่การเลือกตั้งทั่วไป รวมถึงการส่งเสริมให้การ
เรียบร้อยร่วมด้วย ดังนั้น การบังคับใช้ค�าสั่งห้าม ด�าเนินการต่าง ๆ ของรัฐสอดคล้องกับมาตรฐานระหว่าง
การชุมนุมทางการเมืองต่อการด�าเนินกิจกรรมดังกล่าว ประเทศด้านสิทธิมนุษยชน จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
ที่ไม่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยจึงอาจเป็น
การแทรกแซงการใช้สิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ ในกรณีการใช้เสรีภาพของประชาชนในการแสดงออก
และการชุมนุมโดยสงบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดง
หากการใช้เสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบ ความคิดเห็นของชุมชนในบริบทของสิทธิชุมชน
เป็นการกระท�าเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ตามมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
และเพื่อประโยชน์สาธารณะ การด�าเนินคดีกับบุคคล ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รัฐบาลและหน่วยงานต่าง ๆ
๘๒ จาก (๑) ข่าวแจก วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ สรุปผลการตรวจสอบการร้องเรียนเกี่ยวกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ถูกด�าเนินคดี SLAPP (๒) ข่าวประชาสัมพันธ์ วันที่
๗ มีนาคม ๒๕๖๑ สรุปงานวันสตรีสากล ปี ๒๕๖๑ และ (๓) ข่าวแจก ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ โครงการประสานความร่วมมือกับองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน และสภาวิชาชีพ
ในหัวข้อข้อเสนอแนะนโยบายในการคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย,” โดย ส�านักงาน กสม., ๒๕๖๒. สืบค้นจาก www.nhrc.or.th
76