Page 76 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 76
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค รัฐยังคงมีความห่วงกังวลต่อสถานการณ์โดยทั่วไป และให้
จากการน�าเสนอสถานการณ์ด้านเสรีภาพในการ ความส�าคัญกับการรักษาความสงบเรียบร้อยค่อนข้างมาก
แสดงความคิดเห็น เสรีภาพสื่อมวลชน และเสรีภาพ จึงมักพิจารณาว่า กิจกรรมที่ภาคประชาชนจัดขึ้น
ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ข้างต้น กสม. เข้าข่ายเป็นการชุมนุมทางการเมืองที่จะส่งผลให้เกิด
มีข้อสังเกตที่เป็นการประเมินสถานการณ์ ดังนี้ ความแตกแยกในสังคมหรือกระทบต่อความมั่นคง
ของประเทศ และมีแนวโน้มจะใช้มาตรการจ�ากัดเสรีภาพ
ภายหลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพสื่อมวลชน และ
พุทธศักราช ๒๕๖๐ เจ้าหน้าที่ต�ารวจเป็นผู้ใช้อ�านาจ เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธด้วย บทที่ ๒
ในด�าเนินการกับบุคคลที่ใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เช่น การเจรจากับผู้จัดงาน การขอความร่วมมือต่าง ๆ
เสรีภาพสื่อมวลชน และเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ หรือการสร้างแรงกดดันทางอ้อมผ่านหน่วยงาน สถาบัน
และปราศจากอาวุธมากกว่าเจ้าหน้าที่ทหาร แต่ยังพบว่า การศึกษา หรือผู้ดูแลสถานที่นั้น ๆ นอกจากนั้น ยังมี
มีเจ้าหน้าที่ทหารร่วมเกี่ยวข้องในหลายกรณี อาทิ การแทรกแซงโดยการกลั่นกรองถ้อยค�าต่าง ๆ ที่ใช้ใน
การควบคุมตัวแกนน�าขบวนการประชาชนเพื่อสังคม การประชาสัมพันธ์และการน�าเสนอความเห็น รวมถึง
ที่เป็นธรรม (P-MOVE) จ�านวน ๓ คน ในขณะที่เดินทาง การมีเจ้าหน้าที่คอยสอดส่อง และบันทึกข้อมูล
เข้าร่วมการชุมนุมที่กรุงเทพฯ ในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๑ และภาพการเคลื่อนไหว ซึ่งกระทบต่อความรู้สึกถึง
ความไม่ปลอดภัย และการใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
ของผู้จัดและผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
75