Page 78 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 78
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ควรใช้แนวทางที่เน้นการสร้างความเข้าใจต่อกันมากกว่า กลุ่มที่สอง การพิจารณาปรับปรุงประกาศ/ค�าสั่งที่มี
มองว่าการใช้เสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุม ลักษณะเป็นไปเพื่อการบริหารจัดการทั่วไปที่ออก
ของประชาชนเป็นภัยต่อความมั่นคง รวมทั้งให้ความส�าคัญ ตามมาตรา ๔๔ หรือโดยกระบวนการอื่นนอกเหนือจาก
กับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมอย่างจริงจังและ กระบวนการออกกฎหมายทั่วไป แต่ยังมีความจ�าเป็น
หลีกเลี่ยงการใช้มาตรการที่จ�ากัดการใช้เสรีภาพที่เกิน ต้องคงไว้ ให้เป็นกฎหมายที่ออกโดยกระบวนการ
สัดส่วนเพื่อลดเงื่อนไขที่จะน�าไปสู่ความขัดแย้งมากขึ้น ที่ชอบด้วยกฎหมาย
เพื่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบนิติรัฐ ในส่วนที่เกี่ยวกับการด�าเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์ บทที่ ๒
รัฐบาลควรเร่งทบทวนการใช้อ�านาจทางกฎหมาย เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน (SLAPP) การที่
ให้เป็นไปตามกระบวนการตรากฎหมายปกติแทนการใช้อ�านาจ สนช. ได้ผ่านร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
ตามมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. .... เมื่อวันที่ ๔
(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แม้ว่ารัฐธรรมนูญ ธันวาคม ๒๕๖๑ ที่ก�าหนดให้ศาลสามารถยกฟ้อง
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗๙ การฟ้องคดีโดยไม่สุจริต รวมถึงการฟ้องคดีเพื่อกลั่นแกล้ง
จะคงก�าหนดให้ใช้มาตราดังกล่าวได้ โดยขอให้พิจารณา หรือเอาเปรียบจ�าเลยหรือโดยมุ่งหวังผลอย่างอื่นยิ่งกว่า
ทบทวนประกาศ/ค�าสั่ง หรือกฎหมายใน ๒ กลุ่มหลัก คือ ประโยชน์ที่พึงได้โดยชอบ เป็นมาตรการทางกฎหมาย
ที่จะช่วยคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนได้ประการหนึ่ง
กลุ่มที่หนึ่ง การยกเลิกประกาศ/ค�าสั่งที่ส่งผลกระทบ และเป็นความก้าวหน้าที่ส�าคัญของไทย ทั้งนี้ รัฐควรให้
หรือจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนที่ออก ความส�าคัญกับการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว
ตามมาตรา ๔๔ ที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีของไทยในฐานะ เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมต่อไป การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
รัฐภาคีกติกา ICCPR เช่น ประกาศ/ค�าสั่งที่เกี่ยวกับ
การควบคุมตัวบุคคล และการใช้เสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็นและการชุมนุมโดยสงบ และ
77